จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
กุฏิล : ค., นป. โค้ง, งอ, โกง, คดโกง; ส่วนที่โค้ง, ที่คด, ที่งอ
กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
โกฏฐาส : ป. โกฏฐาส, ส่วน, ภาค
โกฏิ : (อิต.) คม, ปลาย, มุม, ที่สุด, หาง, ส่วน, เงื่อน. กุฏฺ โกฏิลฺย, อิ, อิณฺ วา.
ปกฺข : ป. ข้าง, ส่วน, ฝ่าย, สีข้าง, ปีก, ปักษ์, คนขาเขยก, พรรค
ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
พิล : (นปุ.) ปล่อง, ช่อง, โพรง, รู, ส่วน, ชิ้น, เสา. พิลฺ เภทเน นิสฺสเย วา, อ.
อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
กุณฺฐ : ค., ป. เป็นง่อย, โค้ง, คดงอ; เกียจคร้าน, ไม่คม; คนเป็นง่อย
โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
จริมฺห : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.
ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
นินฺนาเมติ : ก. น้อมลง, ก้มลง, โค้ง, แลบออก
ปฏิกุชฺเชติ : ก. งอ, โค้ง, โก่ง
ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
ปณาเมติ : ป. น้อม, ก้ม, โค้ง, ประนม, ไหว้
วงฺก : ๑. ค. คด, งอ, โค้ง;
๒. นป. ชื่อภูเขา; กีบเท้าสัตว์, เบ็ด
สมฺมิญฺชติ : ก. งอ, โค้ง
หุจฺฉน : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ. หุจฺฉโกฎิลฺเล, ยุ.
อนุชุ : (วิ.) ไม่มีความตรง, มิใช่ตรง, ไม่ใช่ตรง, คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, ชั่ว.วิ.นตฺถิ อุชุตายสฺส โสอนุชุ.
อภินมติ : ก. ก้มลง, โค้ง, งอ
อฬาร : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.วิ.อลตีติอฬารํ.อลฺพนฺธเน, อโร.แปลงลเป็นฬ
โอภญฺชติ : ก. ม้วน, งอ, โค้ง, ทบ
สวน : (นปุ.) การฟัง, สัททชาตอันบุคคลฟัง, อวัยวะสำหรับฟัง, หู. วิ. สวนํ สวนํ. สูยตีติ วา สวนํ. สุณาติ เอเตนาติ วา สวนํ. สุ สวเน, ยุ. เป็น สวณ บ้าง.
ตุลภาค ตุลฺยภาค : (ปุ.) ส่วนเสมอกัน, ส่วน ที่เสมอกัน, ส่วนที่เท่ากัน, ภาคที่เสมอกัน, ฯลฯ.
ปพฺพตช : (ปุ.) ประเทศอันเกิดแต่ภูเขา, ส่วน อัน เกิดแต่ภูเขา, แม่น้ำ.
จกฺกราสิ : (ปุ.) จักรราศรี คือทางโคจรรอบดวง อาทิตย์ของดาวนพเคราะห์ แบ่งออกเป็น ส่วนเท่าๆ กัน ๑๒ ส่วน เรียก ๑๒ ราศี.
จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
ทฺวตตีสาการ : (ปุ.) อาการสามสิบสอง, ส่วนของร่างกายสามสิบสองส่วน, ส่วนของร่างกายทางศาสนากล่าวว่ามี ๓๒ ส่วน มีผม (เกสา) เป็นต้น มีเยื่อในสมอง (มตฺถลุงคํ) เป็นที่สุด.
ทฺวย : (วิ.) สอง, สองอย่าง, (ส่วน) ทั้งสอง, มีส่วนสอง. วิ เทฺว อํสา อสฺส ทฺวยํ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๙.
สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
เสนงฺค : (นปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ, ส่วนแห่งกองทัพนั้น โบราณมี ๕ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ส. เสนางฺค.
อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
อุปฑฺฒ : (วิ.) กึ่ง, ครึ่ง, ส่วน.
โกฏฐาส : (ปุ.) ส่วน, ลมในท้อง. วิ. โกฏฺเฐ เสตีติ โกฏฺฐาโส.
ขณฺฑิกา : อิต. ส่วน, ชิ้น, ก้อน, กอง; ไม้เท้า
ปฏิวึส, - สก : ป. ส่วน, ส่วนแบ่ง