Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ส่อ , then สอ, ส่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่อ, 30 found, display 1-30
  1. กณฺณชป : (ปุ.) คนส่อเสียด วิ. กณฺเณ ชปตีติ กณฺณชโป. กณฺณปุพฺโพ, ชปฺ วจเน, อ.
  2. กณฺเณชป : (ปุ.) คนพูดกระซิบที่หู, คนส่อ เสียด. กณฺเณ+ชป เป็น อลุตตสมาส.
  3. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  4. ทฺวิชิวฺห : (ปุ.) สัตว์มีลิ้นสอง. งู. คนมีลิ้นสอง หมายถึงคนส่อเสียด. วิ. เทฺว ชิวฺหา ยสฺสโส ทวิชิโวฺห.
  5. ปิสุณ : นป. การพูดส่อเสียด, การยุยงให้แตกกัน
  6. ปิสุณวาจา : อิต. วาจาส่อเสียด, การพูดยุยงให้แตกกัน
  7. เปสุญฺญวาท : (ปุ.) คำส่อเสียด, คำพูดส่อเสียด, ถ้อยคำส่อเสียด, การกล่าววาจาส่อเสียด.
  8. เปสุณ : นป. คำส่อเสียด
  9. เปสุณการก : ค. ผู้ทำการส่อเสียด
  10. เปสุณิก : ค. ผู้ส่อเสียด
  11. เปสุเณยฺย : (วิ.) อันเกื้อกูลแก่วาจาส่อเสียด, ส่อเสียด.
  12. สุจก : (วิ.) ส่อเสียด, เสียดแทง, ทิ่มแทง. สุจฺ เปสุญฺเญ, อ. ก สกัด.
  13. สูจก : (วิ.) ผู้แต่ง, ผู้ร้อยกรอง, ผู้ชี้แจง, ผู้ประกาศ. สูจฺ คนฺถเน, ณฺวุ. ผู้ส่อเสียด, ผู้พูดส่อเสียด. สูจฺ เปสุญฺเญ.
  14. สูจน : (นปุ.) การแต่ง, ฯลฯ, คำชี้แจง, คำประกาศ, คำแสดง, คำบ่ง, คำระบุ, การส่อเสียด, คำส่อเสียด. ยุ ปัจ.
  15. อปิสุณ : ค. ไม่พูดส่อเสียดยุยง
  16. อปิสุณาวาจา : (อิต.) วาจามิใช่วาจาอักบดเสียซึ่งความรัก, วาจาไม่ส่อเสียด.
  17. อเปสุณ : ค. ไม่พูดส่อเสียด, ไม่พูดยุยง
  18. อนิมิสอนิมืสฺส : (ปุ.) เทวดา, ปลา (ไม่กระพริบตา).
  19. กิลญฺช : (ปุ.) เสื่อ, สาด, ลำแพน, เสื่อลำแพน, เสื่อหยาบ. กิลปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นิคฺคหิตาคโม.
  20. ทุธา : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนสองง ทฺวิ+ธาปัจ. วิภาตตัท. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ.
  21. ปรตุกมฺยตา : (อิต.) ความที่แห่งคำพูดเป็น คำพูดเพื่อยังคนอื่นให้รัก (พูดสอพอเพื่อให้เขารัก ).
  22. ปเวณิ : อิต. ช้องผม, ผมที่ผูกไว้หรือมวยผม; เชื้อสาย, ประเวณี, ประเพณี ; เสื่อ, เครื่องลาด
  23. ภิสิ ภิสึ : (อิต.) เสื่อ, ที่นอน, เบาะ, ฟูก, หมอน.
  24. ภุมฺมตฺถรณ : นป. การปูบนพื้นดิน, เสื่อ, พรม
  25. มตฺถ : (ปุ.) คนที่สอ, ผักเปลา.
  26. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  27. อนุสาสนี : (อิต.) การพร่ำสอน, คำสั่งสอน, อนุศาสนี (คำสอนสำคัญที่ต้องสอนบ่อยๆ)ส. อนุศาสนี.
  28. อปสฺสย : ป. เครื่องหนุน, หมอนข้าง, พนักพิง, เตียง, เสื่อ
  29. อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
  30. อวณฺณวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งโทษมิใช่คุณ, การกล่าวโทษ.วิ. วณฺโณถุติ, ตสฺสอวทนํอวณฺณวาโท.อวณฺณสฺสวาวาโทอวณฺณวาโท.
  31. [1-30]

(0.0117 sec)