สา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย.
สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
สาติ : (อิต.) สาติ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๕ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดวง, ดาวช้างพัง. วิ. สาติ สุภาสุภนฺติ สาติ. สา ตนุกรเณ, ติ.
สามา : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
สาวิตฺติ : (อิต.) สาวิตติศาสตร์, สาวิตรี (คำสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท). อถโข ติปทํ ติปาท เมว สิยา สา สาวิตฺติ นาม. สวิตุสฺส อิสิโน อยํ วาจา สาวิตฺติ. อิณฺ ปัจ.
สากฎิก : (ปุ.) คนขับเกวียน. วิ. สกเฎน จรตีติ สากฎิโก.
สากุณ : (วิ.) มีนก วิ. สกุณา ยสฺมึ สนิตีติ สากุโณ.
สากุณิก : (ปุ.) บุคคลผู้ฆ่าซึ่งนกเป็นอยู่, พรานนก. วิ. สกุเณ หนฺตฺวา ชีวตีติ สากุณิโก. ณิก ปัจ.
สาชีว : (นปุ.) สาชีพ (การเลี้ยงชีพ) คือ สิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้.
สาตกุมฺภ : (นปุ.) สาตกุมภะ ชื่อทองต่างชนิดอย่างที่๒ ใน ๔ อย่าง. สตกุมฺภํ ปทุมเกสร วณฺณํ, ตพฺพณฺณสทิสตฺตา สาตกุมฺภํ.
สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
สาพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกสุนัข. วิ. สานํ สุนขานํ พนฺธนำสาพนิธนํ.
สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
สามิ : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
สามิภคินี : (อิต.) พี่หญิงของผัว, น้องหญิงของผัว, พี่น้องหญิงของผัว. สามิ+ภคินี.
สามิภาตุ : (ปุ.) พี่ชายของผัว, น้องชายของผัว, พี่น้องชายของผัว. สามิ+ภาตุ.
สามิ สามี : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามิ สามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
สามุทฺท : (นปุ.) เกลือที่ได้จากพื้นที่ใกล้ทะเล. วิ. สมุทฺทภูมิยํ อวฎฺฐตํ ลฺทธํ สามุทฺทํ. ณ ปัจ.
สารงฺค : (ปุ.) เนื้อ, เนื้อทราย, กวาง, จามจุรี. วิ. เสน สุเขน รงฺคติ ปลายตีติ สารงฺโค, สปุพฺโพ, รงฺคฺ คมเน, อ. ส. สารงฺคฺ.
สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
สาราณิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก, สาราณิยธรรม(ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกันและกัน).
สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
สากฏิก : ป. ผู้ไปด้วยเกวียน
สากมฎฺฐ : (ปุ.) ผักคราด, ตะไคร้.
สากลฺย : (วิ.) เต็มที่, ครบ, สมบูรณ์, ครบสมบูรณ์.
สากุณิก, สากุนฺติก : ป. พรานนก
สากุย : (ปุ.) เจ้าศากยะ. ส. ศากฺย.
สาเกต : นป. ชื่อเมือง
สาขาภงฺค : ป. กิ่งไม้หัก
สาคาร : ค. ผู้อยู่ในบ้าน
สาจริยก : ค. ผู้ร่วมอาจารย์เดียวกัน
สาตาวห : (วิ.) อันนำมาซึ่งความยินดี, ฯลฯ.
สาติเรก : ค. มีมากกว่าหนึ่ง
สาตุถ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอรรถ, พร้อมด้วยอรรถ, มีอรรถ, เป็นไปกับด้วยประโยชน์, ฯลฯ.
สาทน : (นปุ.) ความหวาน, ฯลฯ, ความสุข. ยุ ปัจ.
สาทูทก : (นปุ.) น้ำหวาน, น้ำอันบุคคลพึงใจ, ฯลฯ.
สานิ : (วิ.) นี้แห่งตน, นี้ของตน.
สานุวชฺช : ค. น่าติเตียน, ควรตามไปว่ากล่าว
สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
สามนฺต : (นปุ.) ที่ใกล้, ที่ใกล้เคียง.
สามนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดยรอบ. รูปฯ เป็น สตฺตมิยตฺถนิปาต.
สามาก : (ปุ.) ข้าวฟ่าง, หญ้าละมาน.
สามาชิก : ป. ผู้เข้าร่วมประชุม, สมาชิก
สามายิก : (วิ.) อันมีในสมัย. สมย+ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. ทีฆะ อ ที่ ส และ ม เป็น อา.
สามิตฺ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเจ้าของ, ความเป็นเจ้าของ