ปณฺหิ, - หิกา : อิต. ส้นเท้า
ปณฺหี : ค. มีส้นเท้า
ปาสนี : อิต. ส้นเท้า, ส้นตีน
ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
สมสน : (นปุ.) การย่อ, สํปุพฺโพ, อสุเขปเน. ยุ. ส. สมสน.
สุน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ. ส. ศุน.
สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
หึสน : (นปุ.) การเบียดเบียน, ฯลฯ. ยุ อ ปัจ. ส. หึสน, หึสา.
อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
กณฺณวิภูสน กณฺณเวฐน : (นปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กตุปาสน : ค. ผู้ชำนาญในการยิงลูกศร, นายขมังธนู
กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
กมฺพลสิลาสน : นป. กัมพลศิลาอาสน์, แท่นหินที่ปูลาดด้วยผ้ากัมพลใช้เป็นที่ประทับของท้าวสักกะ
กมฺมกริยาทสฺสน : นป. ความเห็นในการกระทำกรรม, ทัศนะในการทำงาน
กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
กลฺยาณทสฺสน : ค. น่าดู, น่ารัก, งาม
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
ขุสน : นป. การด่า, การบริภาษ
คเวสน : นป. คเวสนา อิต. การแสวงหา, การค้นหา
คีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การขับและการประโคมและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึก (แก่กุศล).
ฆตาสน : ป. ไฟ
ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
ฆาเสสน : นป., ฆาเสสนา อิต. การแสวงหาอาหาร
โฆรทสฺสน : ป. นกเค้า
โฆรราสน : ป. สุนัขจิ้งจอก
โฆสน : (นปุ.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
จารุทสฺสน : ค. ซึ่งดูเป็นที่พอใจ, น่าดู, น่ารัก, มีเสน่ห์
จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
ชิคึสนตา, ชิคึสนา, ชิคึสา : อิต. ความอยากได้, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความโลภ
ชิณฺณวสน : (นปุ.) ผ้าเก่า.
ชินสาสน : นป. ศาสนาหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
ฑสน : (นปุ.) การกัด, การขบ, การต่อย ( ใช้ เหล็กไนที่ก้นจี้เอา ), การคาบ, การเคี้ยว. ยุ ปัจ.
ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
ตาสน : นป. การทำให้ตกใจกลัว, การเสียบประจาน
ตุจฺฉภาสน : นป. การกล่าวตู่, การพูดพล่อยๆ
ตุสน : (นปุ.) ความยินดี, ความแช่มชื่น, ความชื่นชม, ดุษฎี. ตุสฺ ตุฏฺฐยํ, ยุ. ส. ตุษฺฏิ.
ตุสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความอยาก, ความกระหายน้ำ, ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อุตฺตํ.