กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
ฆาส : (ปุ.) การกิน, หญ้า, สวน, ไร่, ไร่หญ้า, หญ้าสัตว์กิน, เครื่องบริโภค, อาหาร, ข้าว. ฆสฺ อทเน, โณ.
ติณชาติ : อิต. ติณชาติ, หญ้า
กาลา กาฬา : (อิต.) จิงจ้อดำ, ประยงค์, หญ้า กับแก้. กลฺ สํขฺยาเณ, กรฺ กรเณ วา, โณ.
อุสีร : (นปุ.) แฝก, หญ้าแฝก, รากแฝก, หญ้า คมบาง, หญ้าไทร. วสฺ กนฺติยํ, อีโร, วสฺสุ (แปลง ว เป็น อุ.), อุสฺ ทาเห วา, อีโร. อุสุ
กุรี : (ปุ.?) หญ้า (เกิดบนแผ่นดิน). กุปุพฺโพ, รุหฺ ปาตุภาเว, อี, หโลโป.
โคจรณ : นป. ทุ่งหญ้า, อาหาร (หญ้า)
โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
โปฏกี : (อิต.?) หญ้า
อุฏ : (นปุ.) ใบไม้, หญ้า. ส. อุฏ.
กกฺข : ป. รักแร้; หญ้าแห้ง; ควาย; เข็มขัดผู้หญิง
กฏน : นป. กรรมชั่ว, หญ้าคา, จาก
กฏนฺนฏ : (นปุ.) หญ้าแห้วหมู ?
กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
กมลปาทุกา : อิต. รองเท้าที่ทำด้วยหญ้าชนิดหนึ่งชื่อว่ากมละ
กาช : (ปุ.) คาน ชื่อไม้สำหรับหาบของ, หาบ ติณกาช หาบแห่งหญ้า. กจฺ พนฺธเน, โณ, จสฺส โช. เวสฯ ๓๕๓ เป็น กชฺช พฺยตเน, อ. ลบ ชฺ สังโยค.
กาฬวลฺลิ กาฬวลฺลี : (อิต.) เครือเถาหญ้านาง.
กาฬา : อิต. จิงจ้อดำ, ประยงค์, หญ้ากับแก้
กึกิราต : (ปุ.) หญ้าหางช้าง, ว่านหางช้าง. กิรฺ วิกิรเณ, อาโต, ทฺวิตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม.
กึกิราต, กิงฺกิราต : ป. หญ้าหางช้าง
กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
กุฏนฺนฏ : (นปุ.) หญ้าแห้วหมู. กุฏ+นฏ ซ้อน นฺ.
กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
กุทฺรูส, - ก : ป. หญ้ากับแก้
กุรณฺฑก : ป. หญ้าหางช้าง
กุรณฺฑก กุรุณฺฑก : (ปุ.) หญ้าหางช้าง, ว่านหาง- ช้าง. กุรฺ สทฺเท, โฑ, สกตฺเถโก, ณฺสํโยโค.
กุสกณฺฏก, - กณฺฐก : นป. หน่อหญ้าคา
กุสคฺค : นป. ปลายหญ้าคา
กุสจีร : นป. ผ้าคากรอง, ผ้าที่ทำด้วยหญ้าคา
กุสมุฏฐิ : อิต. หญ้าคาหนึ่งกำมือ
กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
ขฏ : (ปุ.) หญ้า, หญ้าหอม, แฝกหอม (รากมี กลิ่นหอมใช้ทำยาไทย), กร, มือ, กระพุ่ม มือ, ความปราถนา. ขฏฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ขฏ.
ขฏิก : (ปุ.) หญ้า, หญ้าหอม, แฝกหอม, กระพุ่มมือ, ดินสอพอง, ช่องหู. ส.ขฏิก.
คุจฉ : (นปุ.?) พวงมาลัย, ช่อดอกไม้, ฟ่อน- หญ้า, ผ้าผูกคอ, มัด, ห่อ (สองคำนี้เป็น นามนาม). สิ. คุจฺฉ คุชฺช.
คุนฺทา : (อิต.) กะเม็ง, ต้นกะเม็ง, หญ้ากะเม็ง ชื่อของต้นหญ้าเล็กๆ ไม่มีแก่น ขึ้นตามที่ ชื้นแฉะ ใบเขียว มีขนคาย ดอกขาว ใช้ ทำยาเด็กเป็นต้น, หญ้าปากกา. คุ สทฺเท, โท, นิคฺคหิตาคโม.
โคธุม, - ธูม : ป. ข้าวสาลี, ข้าวละมาน, หญ้ากับแก้
ฆาสหารก : ค. คนนำอาหารมา, คนหาบหญ้า
ติณ : (นปุ.) หญ้า, ตฤณ, ติชฺ นิสาเน, อ, ชสฺส โณ. ติณุ อทเน วา, อ. ส. ตฤณ.
ติณกรล : นป. เชือกทำด้วยหญ้า, มัดหญ้า
ติณกาช, - ชก : นป. หาบหญ้า
ติณคหณ : นป. กอหญ้า, ชัฏหญ้า, ป่าหญ้า
ติณจุณฺณ : นป. ผงหญ้า, หญ้าที่เป็นผงละเอียด
ติณฑุ (ฑู) ปก : นป. ม้วนหญ้า, เทริดหญ้า
ติณทาย : ป., นป. ป่าหญ้า
ติณโทส : ค. มีหญ้าเป็นโทษ; อันเสียหายเพราะหญ้า
ติณปุปฺผก : ป. ความป่วยไข้เพราะหญ้าเป็นเหตุ
ติณปุริสก : ป. รูปคนที่ทำด้วยหญ้า; หุ่นแพ้วนกแพ้วกา
ติณภกฺข : ค. มีหญ้าเป็นอาหาร, ผู้กินหญ้า
ติณภิสิ : อิต. เบาะทำด้วยหญ้า, ฟูกที่ยัดด้วยหญ้า