Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หนังกำพร้า, กำพร้า, หนัง , then กำพรา, กำพร้า, หนง, หนํ, หนัง, หนังกำพร้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หนังกำพร้า, 106 found, display 1-50
  1. เสท : (ปุ.) เหงื่อ, เหื่อ (ภาษาเก่า), ไคล(เหงื่อที่ปนกับฝุ่นละอองติดกรังอยู่กับหนังกำพร้า). วิ. เสตีติ เสโท. เส ปาเก, โต, ตสฺส โท. พ่อครัว ก็แปล.
  2. กรณฺฑ,- ฑก : ป. เตียบ, ผอบ, กระเช้า, ผิวหนัง, หนัง
  3. ขุทฺท : (วิ.) เล็ก, น้อย, เล็กน้อย, ต่ำช้า, ต่ำ- ทราม, ยากไร้, กำพร้า, ตระหนี่.
  4. ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.
  5. อมาตาปิติก : ค. ไม่มีมารดาบิดา, กำพร้า
  6. โจจ : (ปุ.) เปลือก, เปลือกไม้, ผิว, หนัง. ตจฺ สํวรเณ, อ, ตสฺส โจ อสฺโส. ส. โจจ.
  7. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  8. ททฺทุล : ป., นป. กากข้าว; การขุด (หนัง)
  9. กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
  10. กณฺหชิน : นป. หนังเสือดำ
  11. กนกตฺตจ : ค. มีหนังเหมือนทอง
  12. กนฺทุก : (ปุ.) ลูกคลี, ลูกหนัง, ตะกร้อ, ฟุต- บอลล์. กทิ อวฺหาเณ, ณุโก. ส. กนฺทุก.
  13. กุรฏ : (ปุ.) ช่างหนัง, ช่างฟอก, ช่างรองเท้า?
  14. ขราชิน : นป. หนังสัตว์ขรุขระ เช่น เครื่องนุ่งห่มของฤษี
  15. ขลฺล : ป., ค. รางน้ำ, เครื่องแต่งตัวที่ทำด้วยหนัง; แตก, ร้าว
  16. ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
  17. คทฺทุ (ทู) ล : ป. สายหนัง, บ่วงหนัง; เครื่องผูกสุนัข
  18. เคณฺฑุก : (ปุ.) ลูกคลี, ลูกคลีหนัง, ฟุตบอลล์ ตะกร้อหนัง, ตะกร้อ? , กลุ่ม. คุฑิ เวฐเน, คุทฺ กีฬายํ, ณุโก, อุสฺเส. ธาตุแรก ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ ธาตุหลังแปลง ทฺ เป็น ณฺฑ.
  19. จมฺมการ : (ปุ.) ช่างฟอกหนัง, คนทำหนัง, ช่างหนัง, ช่างเย็บรองเท้า. วิ. จมฺมํ กโรติ วิการํ อาปาทยตีติ จมฺมกาโร. ณ ปัจ.
  20. จมฺมการ, - การี : ป. ช่างหนัง, ช่างรองเท้า
  21. จมฺมขณฺฑ : ป. ชิ้นหนัง, ท่อนหนัง, แผ่นหนังสำหรับรองนั่ง
  22. จมฺมฆฏก : ป. ถุงหนังสำหรับใส่น้ำ, กระออมหนังสำหรับตักน้ำ
  23. จมฺมปสิพฺพก : (ปุ. นปุ.) กระทอ, กระทอ หนัง, ถุงหนัง. วิ. จมฺมมยํ ปสิพฺพกํ จมฺมปสิพฺพกํ.
  24. จมฺมพนฺธ : ป. เชือกหนัง
  25. จมฺมภสฺตา : อิต. ถุงหนัง, กระสอบหนัง
  26. จมฺม, - มก : นป. หนัง; โล่
  27. จมฺมมญฺชุสา : (อิต.) กระเป๋าหนัง.
  28. จมฺมโยธี : ป. ทหารมีเกราะหนัง, พลสวมเกราะหนัง
  29. จมฺมโยนิ : (ปุ.) จัมมโยนิ ชื่อของสัตว์ที่ใช้หนัง ทำประโยชน์, กวาง, ชะมด.
  30. จมฺมวรตฺตา : อิต. เชือกหนัง, สายหนัง
  31. จมฺมวาสี : (วิ.) ผู้นุ่งหนังสัตว์โดยปกติ, ผู้นุ่ง หนังเสือ (เหลือง) โดยปกติ, ผู้มีปกตินุ่ง หนังสัตว์.
  32. จมฺมสาฏก : ค., ป. (ปริพาชก) ผู้มีผ้าสาฏกทำด้วยหนัง, ผู้นุ่งห่มผ้าหนัง; ชื่อของปริพาชกคนหนึ่ง
  33. จมฺมาวุต : (ปุ.) รถที่หุ้มด้วยหนังสัตว์, รถที่หุ้ม ด้วยหนังเสือโคร่งหรือเสือลาย วิ. จมฺเมหิ อาวุโต ปริกขิตฺโต จมฺมาวุโต.
  34. จมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยหนัง, หุ้มด้วยหนัง, สรวมเกราะ, ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  35. จมุรุ : ป. สัตว์จำพวกกวางหรือชะมดชนิดหนึ่ง ซึ่งหนังของมันถูกนำมาใช้เป็นประโยชน์
  36. ฉมณฺฑ : (ปุ.) ลูกกำพร้า (ไร้พ่อไร้แม่ ). ฉฑฺฑฺ ฉฑฺฑเน, อ. แปลง ฑฺ ตัวสังโยคเป็น ทฺ แล้วแปลง ทฺ เป็น ม แปลง ฑ ตัวท้ายเป็น ท แล้วแปลงเป็น ณฺฑ.
  37. ฉลฺลิ : (นปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้, สะเก็ด. ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ลิ, ทสฺส โล. ส. ฉลฺลิ. ฉลฺลี. ฉลฺลี (ปุ.?) ลูกหลาน, เครือเถา, เถาวัลย์.
  38. เฉมณฺฑ : ป. ลูกกำพร้า
  39. ชราสิถิลชมฺม : (นปุ.) หนังย่นในเพราะชรา เป็นเหตุ.
  40. ชิณฺณจมฺม : (นปุ.) หนังเก่า, คราบงู.
  41. ตจ : (ปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้. วิ. ตจติ สรีรํ ปาเลตีติ ตโจ. ตจฺ ปาลเน, อ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณ ปัจ.
  42. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  43. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  44. ตจปริโยนทฺธ : ค. ซึ่งหุ้มห่อด้วยหนังหรือเปลือกไม้
  45. ตจปริโยสาน : ค. มีหนังเป็นที่สุด
  46. นทฺธิ, นทฺธี : อิต. เชือกผูก, สายหนัง, ชะเนาะ
  47. นทฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายรองเท้า. อภิฯ และฏีกาอภิฯ. เป็นนนฺธิ บ้าง. ส. นทฺธี.
  48. นทีปูร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องรัด, เชือกเป็น เครื่องผูก, เชือก, เ ชือกหนัง, ชะเนาะ (ไม้กับเชือกที่ขันบิดให้แน่น). นหฺ พนฺธเน, โต, แปลง ต. เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ อิอาคม.
  49. นนฺธิ : อิต. เชือกผูก, สายหนัง, ชะเนาะ
  50. นนฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายเชือก, สายรอง เท้า. วิ. นหฺยเต ยาย สา นนฺธี. นหฺ พนฺธเน, โต, อี. แปลง ด เป็น นฺธ ลบ หฺ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-106

(0.0672 sec)