Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หนึ่งเดียว, เดียว, หนึ่ง , then ดยว, เดียว, หนง, หนงดยว, หนึ่ง, หนึ่งเดียว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หนึ่งเดียว, 633 found, display 1-50
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. เอกจฺจ : (วิ.) หนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, บางคน, บางพวก, บางอย่าง, วังเวง, ไม่มีเพื่อน, โดดเดี่ยว, ฯลฯ. เอโก เอว เอกจฺโจ. เอก ศัพท์ จฺจ ปัจ.
  3. เอกกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) คราวเดียว, คราว หนึ่ง, ครั้งเดียว, ครั้งหนึ่ง, หนหนึ่ง. สัมพันธ์เป็นกิริยาวิเสสนะ, สิ้นคราวเดียว, ฯลฯ. กฺขตฺตํปัจ. ลงในวารอรรถรูปฯ ๔๐๓. สัมพันธ์เป็น อัจจันตสังโยค.
  4. เอกวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องหนึ่ง, เรื่องเดียว, สิ่ง หนึ่ง, ฯลฯ.
  5. จิตฺเตกคฺค : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง, จิตมี อารมณ์เดียว วิ. จิตฺตํ เอกคฺคํ จิตฺเตกคฺคํ วิเสสนุต. กัม.
  6. พินฺทุมตฺต : ค. (น้ำ) มีประมาณหยาดหนึ่ง, เพียงหยาดเดียว
  7. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  8. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  9. อเนก : (วิ.) มิใช่อันเดียว, มิใช่ชนิดเดียว, มิใช่สิ่งเดียว, มิใช่ส่วนเดียว, มิใช่หนึ่ง, มิใช่น้อย, ไม่น้อย, มาก, มากมาย, นับไม่ได้.ส. อเนก.
  10. อาสนฺทิ : (อิต.) อาสันทิ ชื่อตั่งชนิดหนึ่ง, เก้าอี้สำหรับนั่งคนเดียว, เก้าอี้นอน. อาปุพฺโพ, สทฺ วิสรณคติอวสาเนสุ, อิ, พินฺทฺวาคโม.
  11. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  12. อุทฺธก : (ปุ.) อุทธกะ ชื่อกลองชนิดหนึ่ง, กลองหน้าเดียว. วิ. อุทฺธํ กายติ สทฺทายตีติ อุทฺธโก. อุคฺคจฺฉตีติ วา อุทฺธโก. อุปุพฺโพ, คมฺ คติยํ. โก, คมสฺส โธ.
  13. เอกคฺค : (วิ.) มีอารมณ์เดียว (อคฺค คือ อารมณ์), มีอารมณ์เดียวเลิศ, มีอารมณ์ เลิศเป็นหนึ่ง, มีอารมณ์เป็นหนึ่ง, มี อารมณ์แน่วแน่, ไม่วุ่นวาย.
  14. เอกมนฺต : (ปุ. นปุ.) ส่วนเดียว, ส่วนข้างเดียว, ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง, ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ที่ สมควร. มงคลทีปนี เป็น นปุ.
  15. เอกมนฺต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, ด้วย แท้, รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรภสัตมี แปล ว่า ในที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ในที่แห่งหนึ่ง, ณ ที่แห่งหนึ่ง.
  16. เอกาห : (นปุ.) วันหนึ่ง, วันเดียว. เอก+อห.
  17. กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
  18. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  19. กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
  20. กุนฺตาล : (นปุ.) กระไดลิง, ลางลิง, (เถาวัลิชนิด หนึ่ง), ดอกคาง, ดอกเข็ม, ดอกตาเสือ.
  21. ขุทฺทปุปฺผิย : (ปุ.) ชิงช้าชาลี ชื่อเถาวัลิชนิด หนึ่ง ใช้ทำยาไทย, เข็ม, ต้นเข็ม, ดอกเข็ม.
  22. ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
  23. ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
  24. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  25. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  26. พลาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, พลาธิการชื่อกรมๆ หนึ่ง มีหน้าที่ควบคุมจัดหา ที่พัก เสบียงอาหาร ฯลฯ ในกองทัพ ถ้าระดับต่ำกว่ากองทัพ ก็เป็นชื่อของ กอง และเป็นชื่อของผู้ทำหน้าที่ในกรมกองนั้น.
  27. เอกโตปญฺญ ตฺติ : (อิต.) เอกโตบัญญัติ (บัญญัติ สำหรับภิกษุหรือภิกษุณี เพียงฝ่ายใดฝ่าย หนึ่ง).
  28. กิญฺจาปิ : (อัพ. นิบาต) แม้โดยแท้, แม้น้อย หนึ่ง.
  29. ตุงฺควลฺลิย : (ปุ.) เถากระไดลิง ชื่อไม้เถาชนิด หนึ่ง.
  30. นขร : (ปุ.) เล็บมือ, นขระ ชื่อผักหอมชนิด หนึ่ง.
  31. อเนกสสาร อเนกชาติสสาร : (ปุ.) สงสาร อัน... พึงนับด้วยชาติมิใช่หนึ่ง, สงสาร มีชาติมิใช่ หนึ่ง.
  32. เอกคฺคตาจิตฺต : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เดียว, ฯลฯ, เอกัคคตาจิต (จิตแนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว จิตเป็นอัปปนา).
  33. เอกตฺถ เอกตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...เดียว. ส. เอกตฺร.
  34. เอกภตฺติก : (วิ.) ผู้มีภัตครั้งเดียว, ผู้มีภัตหน เดียว (บริโภคอาหารมื้อเดียวใน ๑ วัน).
  35. อินฺทวชิร : (นปุ.) อินทวชิระ ชื่อฉันท์ชนิด หนึ่ง, อินทวิเชียรฉันท์, อินทรวิเชียรฉันท์.
  36. อีสก : (วิ.) น้อย, เล็กน้อย, น้อยหนึ่ง, หน่อย หนึ่ง, นิดหน่อย, สะดวก, ง่าย. ส. อีษตฺ.
  37. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  38. กกฺกรุ : นป. เถาวัลย์ชนิดหนึ่ง, ไม้เลื้อยชนิดหนึ่ง
  39. กกฺการิก : นป. แตงชนิดหนึ่ง
  40. กกฺโกล (ตกฺโกล) : นป. ของหอมชนิดหนึ่ง
  41. กกจ : (ปุ.) เลื่อย, ดองดึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ใช้หัวทำยา, สวาด ชื่อ ไม้เถา มีหนาม. กจฺ พนฺธเน, อ, ทฺวิตฺตํ แปลง ก เป็น กก.
  42. กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
  43. กชฺโชปกฺกมก : นป. บุษราคัม, มณีชนิดหนึ่ง
  44. กญฺจก : นป. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง
  45. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  46. กฏจฺฉุภิกฺขา : อิต. ภิกษาทัพพีหนึ่ง, ข้าวทัพพีหนึ่ง
  47. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  48. กฏจฺฉุมตฺต : ค. มีอาหารเพียงทัพพีเดียว
  49. กฏฐก : ป. ต้นไผ่, ไม้รวก; เทพยดาจำพวกหนึ่ง
  50. กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-633

(0.0916 sec)