หนุ, หนุกา : อิต. คาง
อาขนิก : ป. โจร; หนู; หมู; จอบ; เสียม; คนขุดแร่
หณุ หนุ หนุกา : (อิต.) คาง. วิ. หนฺติ โอทนาทีสุ วณฺณวิเสสํ นาเสตีติ หณฺ หนุ วา. โภชนํ หนติ เอเตนาติ หณุ หนุ วา. หนฺ หึสายํ, อุ. อภิฯ. รูปฯ ๖๖๕ ลง ณุ, นุ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้นคง ณุ ไว้ ศัพท์ที่ ๓ ลง ก สกัด อา อิต. ส. หนุ.
ตุฏุม : (ปุ.) หนู. ตุฏฺ กลหกมฺมนิ, อุโม. ส. ตุฏุม
มูสา : (ปุ.) หนู วิ. มุสติ เถเนตีติ มูสิโก. มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ, อิตฺตญฺจ, ณิโก วา, ทีโฆ จ.
มูสิก : ป., มูสิกา อิต. หนู
อขุ : (ปุ.) หนังสือ, อักขระ, อักษร, นปุพฺโพ, ขี ขเย, อุ. แปลว่า หนู ก็มี.
อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
อาขุ : (ปุ.) หนู. วิ. อาขญฺญตีติอาขุ.อาปุพฺโพขณุอวทารเณ, อุ.ลบที่สุดธาตุส.อาขุ.
อินฺทุร : (ปุ.) หนู. ส. อินฺทุร.
อุนฺทร อุนฺทุร อุนฺทุรุ อุนฺทูร : (ปุ.) หนู วิ. อุนฺทตีติ อุนฺทูโร. อุทิ ปสวนกิเลทเนสุ, อูโร. ส. อุนฺทร อุนฺทรู อุนฺทุรู. อุนฺนต
อุนฺทุ (ทู) ร : ป. หนู
อุปฺปาฏก : ป. ตัวแมลง, สัตว์ที่นำโทษมาให้ เช่น หนู เป็นต้น
สีหหนุ : (วิ.) มีคางดุจคางแห่งราชสีห์ วิ. สีหสฺส วิย หนูติ สีหหนุ.
กุมุทิกา : (อิต.) แตงหนู, รกฟ้า (ไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่). วิ. กุจฺฉิเตน โมทตีติ กุมุทิกา.
คนฺธสุวณฺฑินี : (อิต.) ชะมดหนู ?.
คนฺธสูยิ คนฺธายุ : (ปุ.) ชะมดหนู ?.
ฆรสปฺป : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู, งูเขียว. วิ. ฆเร สปฺโป ฆรสปฺโป. ฆเร วา นิวาโส สฺปโป ฆรสปฺโป.
ฌสา : (อิต.) แตงหนู (แตงลูกเล็กๆ ขึ้นตาม ชายทุ่ง), มะกอก ต้นไม้ชนิดหนึ่งมีหลาย ชนิด, ครอบโถหรือโลหะสัมฤทธิ์มีฝา ครอบสำหรับใช้ทำน้ำมนต์. ฌสฺ หึสายํ, อ.
ธมฺมนิ : ป. งูเรือน, งูกินหนู
ธมฺมนิ ธมฺมนี : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู.
นาคพลา : (อิต.) แตงหนู, มะกอก, ครอบ. วิ. นาคสฺส พลมิว พลเมติสฺสา โรคหรณตฺตา นาคพลา.
นาคลตา : (อิต.) พลู วิ. นาคโลเก ชาตา ลตา นาคลตา. แตงหนู มะกอก ก็แปล. ส. นาคลตา ว่าต้นหมาก.
นาควสา : อิต. ต้นแตงหนู
มุสิก : (ปุ.) หนู, มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ แปลง ณฺวุ เป็น อก อ+สฺ เป็น ส แปลง อ ที่ ส เป็น อิ. ดู มูสิก.
มุสิกสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ปีหนู, ปีชวด, ชวด.
มูสิกสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ปีหนู, ปีชวด, ชวด.
สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
อินฺทวารุณิ อินฺทวารุณี : (อิต.) แตงกวา, แตงหนู, ขี้กา, ขี้กาแดง, ส่าเหล้า (กาก ของเชื้อที่ทำเหล้า).
คทฺทุ (ทู) หน : นป. การรีดนม
อาโรหณ, - หน : นป. การขึ้น, การปีน
หนติ : ก. ฆ่า
กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
พาหน :
(นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
อุทการ อุทลาหน อุทหาร : (ปุ.) เมฆ. อุท+กรฺ+ณ ปัจ., อุท+อาหน ลฺ อาคม, อุท+หรฺ + ณ ปัจ.
อุปาหน : (ปุ. นปุ.) เกือก, รองเท้า. วิ. ตํ ตํ ฐานํ อุปหนฺติ เอเตนาติ อุปาหโน. ตโต ตโต จ อุปหนฺติ เอเตนาติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อุปนยฺหเตติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อ. ทีฆะและเปลี่ยนอักษร.
กฏฐวาหน : นป. พาหนะไม้ ; ชื่อเมืองเมืองหนึ่ง
กมฺมายูหน : นป. กองแห่งกรรม
กลหน : (นปุ.) วจนะเป็นที่โต้เถียง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
กุมฺภทูหน : นป. การรีดนมด้วยหม้อ, การรีดนมลงในภาชนะ
กุห กุหณ กุหน : (วิ.) หลอก, หลอกลวง, โกง. กุหฺ วิมฺหาปเน, อ, ยุ.
กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
คณฺหณ คณฺหน : (วิ.) ควรถือเอา, ควรเรียน, คหฺธาตุ ณฺหา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. ลบที่สุด ธาตุ.
ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
คาหน : นป. การดำลงไป, การโจนลงไป
คุหน : นป., คุหนา อิต. การซ่อน, การปกปิด, การรักษา; ความลับ