ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
อภิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, จำเพาะ, เฉพาะ, เฉพาะหน้า, เหนือ, หนัก.ส.อภิ.
ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ;
๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ;
๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
ปรายน : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆเป็นใหญ่ (ตปฺปธาน), ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นเบื้องหน้า (ตปฺปร), ผู้ไป ในเบื้องหน้า, ผู้มีความเพียร ( ปร+อายน ).
อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
ถุลฺล : ค. อ้วน, ใหญ่, หยาบ, ชั่วหยาบ
เถร : (วิ.) แก่, เฒ่า, มั่น, คง, มั่นคง, ใหญ่, อ้วน.
ปธาน : (วิ.) เลิศ, ใหญ่, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, สูงสุด, อุดม.
ปวฑฺฒ : ค. เจริญ, งอกงาม, ใหญ่, แข็งแรง
ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง;
๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
พหล : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ใหญ่, หนา, ทึบ, ล่ำ, กล้า. พหฺ วุทฺธิมฺหึ, อโล.
พหุ : (วิ.) เจริญ, หนักหนา, มาก, หลาย, ใหญ่, ใหญ่โต, อะโข, อักโข. วิ. พหติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ พหุ. พหฺ วุทฺธิยํ, อุ.
มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
วทน : นป. การกล่าว; หน้า, ปาก
อคฺคโต : (อัพ. นิบาต) ก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
อิสฺสริย : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, ฯลฯ. วโส อิสฺสริยํ โลเก.
อุทาร : (วิ.) เลิศ, ยิ่ง, เลิศยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, วิเศษ, สำคัญ, สูง. ส. อุทาร.
อุรูฬฺหว : ค. กว้าง, ใหญ่, แข็งแรง
โอฬาร : ค. โอฬาร, ใหญ่, ประเสริฐ
โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
อานน : (นปุ.) ปาก, หน้า (หน้าตา), ช่อง, ประตูป่า.วิ.อนฺนติอสฺสสนฺติอเนนาติอานนํ.อนฺปาณเน, ยุ.อสฺภกฺขเณวา, ทีโฆ.แปลงสเป็นน.ส.อานน.
กลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ระลอกใหญ่, คลื่น ใหญ่. วิ. วาตเวเคน สมุทฺทโต กลฺลติ นทตีติ กลฺโลโล. กลฺลฺ สทฺเท, โอโล. ส. กลฺโลล.
กิญฺจลุก : (ปุ.) ไส้เดือน วิ. กิญฺจิจลตีติ กิญฺจลุ โก. กิญฺจิปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, อุโก, จิโล โป. อภิฯ หน้า ๗๐๙.
กุมุทิกา : (อิต.) แตงหนู, รกฟ้า (ไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่). วิ. กุจฺฉิเตน โมทตีติ กุมุทิกา.
ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
ฆ : (ปุ.) คันไถ, คู่แห่งคันไถ, ระฆัง, ระฆัง ใหญ่. ฆธาตุ อสหเณ อขนฺติยํ วา, อ.
จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
เชฏฺฐาปจายิกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของบุคคลผู้ยำเกรงแก่บุคคลผู้เจริญที่สุด, การทำของบุคคลผู้ประพฤติอ่อนน้อมแด่ผู้ ใหญ่.
ตาฏงฺก : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู, ตุ้มหู ใหญ่. ส. ตาฏงฺก.
ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
ปริกิตฺตีต : กิต. ประกาศแล้ว, ชี้แจงแล้ว, สรรเสริญแล้ว
ก. ประกาศ, ชี้แจง, สรรเสริญ (หน้า 337)
โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
พฺยมฺห : (นปุ.) เทววิมาน, เมืองสวรรค์, ฟ้า. วิ. วิเห อากาเส คจฉฺตีติ วฺยมฺหํ วา. อมปัจ. แปลง อิ เป็น ย แปร ม ไว้ หน้า ห.
พฺรห : (วิ.) เจริญ, เจริญขึ้น, งอกงาม, ไพบูล, ไพบูลย์, สูง, สูงขึ้น, ใหญ่. พฺรหฺ วุทฺธิอุคฺคเมสุ, อ.
พฺรหา : ค. ใหญ่
ภทฺร : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ภทฺท แปลง ท เป็น ทฺร ลบ ทฺ สังโยค อภิฯ หน้า ๒๘๔.
มหตี : ค. ใหญ่
มหนฺตี : (วิ.) ใหญ่. วิเสสนะที่แต่ง อิต.
มหา : ค. ใหญ่
อวงฺค : (นปุ.) หน้า.