ติรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ, การดูแคลน, การดูหมิ่น, การดูถูก, ความดูแคลน, ฯลฯ. ส. ติรสฺการ.
ติโรคฺคาร : ป. การดูหมิ่น, การดูแคลน, ความไม่เอื้อเฟื้อ
ปฏิกฺโกสติ : ก. ด่าตอบ, ติเตียน, แช่งด่า, ดูหมิ่น; คัดค้าน, ปฏิเสธ, ห้าม
ปมาท : (ปุ.) ความมัวเมา, ความเลินเล่อ, ความลืมตน, ความเผลอ, ความไม่เอาใจใส่, ความลืมสติ, ความประมาท. วิ. ปมชฺชนํ ปมาโท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. ไทย ใช้ ประมาท เป็นกิริยาในความว่าขาด ความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะ ทนงตัว และดูหมิ่น ใช้เป็นนามว่า ความเลินเล่อ, การขาดความระมัดระวัง.
ปรวมฺภ, - ภน : ป., นป. การข่มเหงผู้อื่น, การดูหมิ่นคนอื่น
ปรวมฺภี : ค. ผู้มักข่มผู้อื่น, ผู้มีนิสัยชอบดูหมิ่นผู้อื่น
ปราภวน : (นปุ.) ความไม่เห็นแก่กัน, ความดูแคลน, ความดูถูก, ความดูหมิ่น, นินทา. ปราปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, ยุ.
ปริภวติ : ก. สบประมาท, ดูหมิ่น, ฉิบหาย, ลำบาก
ปริภาส : ป. การบริภาษ, การว่าร้าย, การติเตียน, ดูหมิ่น
ปริภูต : กิต. ดูหมิ่นแล้ว, สบประมาทแล้ว, ฉิบหายแล้ว
วิมานเนติ : ก. ดูหมิ่น
อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
อติมญฺญติ : ก. หมิ่นประมาท, ดูหมิ่น, ดูถูก
อติมญฺญนา : อิต. การดูหมิ่น, การดูถูก
อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
อนูปวาท : (ปุ.) การไม่เข้าไปกล่าว, การไม่กล่าวโทษ, การไม่กล่าวร้าย, การไม่ว่าร้ายอนูปวาทะ (การไม่เบียดเบียนด้วยวาจาคือการไม่พูดดูถูกเขาดูหมิ่นเขาข้อนขอด-เขา).อนูปฺฆาตะ และ อนูปวาทะเป็นคุณสมบัติของผู้เผยแพร่ (เผยแผ่) พระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสไว้ในโอวาท-ปาติโมกข์.
อปฺปมญฺญติ : ก. ๑. คิดพอประมาณ;
๒. ดูหมิ่น, ดูแคลน
อปมาน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูก (หมดความนับถือ ขาดความนับถือ).ส.อปมาน.
อปริภูต : ค. ไม่ถูกดูหมิ่นดูแคลน
อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
อวกโรติ : ก. ทำให้เสื่อม, ดูหมิ่น, สลัดทิ้ง
อวการรี : ค. ดูหมิ่น, ละเลย, เพิกเฉย
อวคณิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ดูถูก, ดูแคลน.วิ. เหฏฺฐากตฺวาคณียตีติอวคณิโต.อวปุพฺโพ, คณฺ สํขฺยาเณ, โต, อิอาคโม.
อวชานน : (นปุ.) ความดูหมิ่น, ความดูถูก, ความดูแคลน.อวปุพฺโพ, ญาญาเณ, ยุ.
อวญฺญา : (อิต.) ความดูหมิ่น, ฯลฯ, ความไม่เห็นแก่กัน. วิ. อวชานนํ อวญฺญา.อวปุพฺโพ, ญา ญาเณ, อ. อภิฯลงกฺวิปัจ.
อวญฺญิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ฯลฯ.วิ.เหฏฺฐา กตฺวาญายตีติอวญฺญิต.
อวมญฺญติ : ก. ดูหมิ่น, ดูถูก, สบประมาท
อวมญฺญนา : อิต. การดูหมิ่น, การสบประมาท
อวมานอวมานน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูกการดูแคลน, การไม่เห็นแก่หน้ากัน, ความดูหมิ่น ฯลฯ, วิ. เหฏฺฐากตฺวาชานนํอวมานนํวา.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, โณ, ยุ.ในวิ. ใช้ชานนแทนมน.ส.อวมาน.
อวมานิต : (วิ.) ดูหมิ่น, ฯลฯ. วิ. เหฏฺฐากตฺวามญฺญตีติอวมานิโต.
อวมาเนติ : ก. ให้ดูหมิ่น, ให้ดูแคลน
อวิมานนา : อิต. การไม่ดูหมิ่น, การไม่เหยียดหยาม
อายสกฺย : นป. ความดูหมิ่น, ความเสื่อมเสีย, ชื่อเสียงเสีย
อาสาเทติ : ก. ทำให้ขัดเคือง, ดูหมิ่น
อุญฺญาตพฺพ : กิต. ควรดูถูก, ควรดูหมิ่น
โอจินายติ : ก. ดูถูก, ดูหมิ่น
โอญฺญาต : กิต. ดูถูกแล้ว, ดูหมิ่นแล้ว
โอมาน : (ปุ.) ความดูถูก, ความดูหมิ่น, ความดูหมิ่นตนเอง. โอปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
ฆฏน : (วิ.) หมั่น, ขยัน, รวมกัน, ติดต่อกัน, สืบต่อ, เบียดเบียน.
ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
นหุต : (นปุ.) หมื่น (๑๐ พัน). นหฺ พนฺธเน, โต, อ อาคม เป็น นห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ.
อเปกฺข : (วิ.) หมั่น, ขยัน, กระตือรือร้น.
อุฏฺฐา น : (วิ.) ลุกขึ้น, ตั้งขึ้น, กล้า, ขยัน, หมั่น, เพียร.
อุปกิเลส อุปกฺกิเลส : (วิ.) เศร้าหมอง, หม่น หมอง, เปรอะเปื้อน.