อรวินฺท : (นปุ.) ทองแดง, ดอกบัว, ปทุม (บัว-หลวง), บัว, อรพินท์.วิ.อรํวินฺทตีติวาอรวินฺทํ.ส.อรวินฺท.
เอกภริยา : (อิต.) ภริยาเอก, ภริยาหลวง, เมีย หลวง.
กุฏช : (ปุ.) ไม้มวกเหล็ก, ไม้มวก, อัญชันเขียว, ทุมแทง, มูกมัน, มูกหลวง. วิ. โรคํ กุฏตีติ กุฏโช. กุฏฺ เฉทเน, โช. กุฏชี (ปุ.?) ใบมวกเหล็ก, ฯลฯ.
คิริคพฺพช : นป. ชื่อเมืองหลวงเก่าของแคว้นมคธ
คิริราชา : ป. เขาหลวง, เขาใหญ่
ชนปท : (ปุ.) ตำบล, บ้านเมือง, ประเทศถิ่น. ไทยใช้ ชนบท ในความหมายว่า พื้นที่ หรือ เขตแดนที่อยู่นอกเขตเมืองหลวง บ้านนอก. ส. ชนบท.
ฐานีย : ๑. นป. พระนคร, เมืองหลวง;
๒. ค. อันควรแก่การตั้งใจ, อันควรแก่ตำแหน่ง
ติปุก : (ปุ.) ดีบุก, จิงจ้อ, จิงจ้อหลวง.
ติวุตา : (อิต.) จิงจ้อ, จิงจ้อหลวง. วิ. ติสฺโส วุตา ตาราชิโย ยสฺสา สา ติวุตา. เป็น ปุ. ก็มี ดู ติปุฏา ประกอบ.
เทวคห, - คหณ : ค. (ไม้) ซึ่งพระราชาผู้สมมติเทพทรงหวงแหน, ซึ่งเป็นของหลวง
นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
นฬินชลชากิณฺณ : (วิ.) เกลื่อนกล่นแล้วด้วย ดอกบัวหลวง.
ปทม : (นปุ.) บัว, บัวหลวง (บัวแดง), ดอกบัว. บางมติว่า แผลงเป็น ปทฺม ได้. ส. ปทฺม.
ปทุมินี : อิต. ต้นปทุม, บัวหลวง; สระบัว
ปาวา : อิต. เมืองหลวงของแคว้นมัลละ; เสื้อคลุม; ต้นมะม่วง
ปุรี : (อิต.) วัง, เมือง, เมืองหลวง, นคร, พระนคร. ปุร+อี อิต.
ปูฎเภทน : (นปุ.) เมือง, เมืองหลวง.
พหุวิฆาต : ค. มีความผิดหวัง, มีความคับแค้น, มีทุกข์อย่างใหญ่หลวง
พิมฺพก : นป. มะกล่ำหลวง, ตำลึง
พิมฺพชาล : นป. ต้นมะกล่ำหลวง, ต้นตำลึง
พิมฺพิชาล : นป. ไม้มะกล่ำหลวง, ไม้มะกล่ำเครือเป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านามว่า “ธัมมทัสสี”
พิมฺพิ, พิมฺพิกา, พิมฺพี : อิต. มะกล่ำหลวงตำลึง
มณฺฑิร :
(ปุ. นปุ.) เรือน, เรือนหลวง, นคร, เมือง, เมืองหลวง, กรุง, ที่อยู่, มณเฑียร, ดู มนฺทิร ด้วย.
มธุรสา : (อิต.) จันทน์, องุ่น, คันทรง, ผักโหมหลวง, ชะเอม.
มนฺทิรปาล : (ปุ.) การปกครองในเรือนหลวง, การปก ครองในพระราชฐาน.
มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
มุพฺพา : (อิต.) คันทรง, ชะเอม, ผักโหมหลวง. มุพฺพิ พนฺธเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
ราชงฺคณ : นป. สนามหลวง, สนามหน้าพระราชวัง
ราชทณฺฑ : ป. ราชอาญา, โทษหลวง
ราชธานิ : อิต. ราชวัง, เมืองหลวง
ราชิสิ : ป. โหรหลวง
สาวตฺถี : อิต. เมืองหลวงของแคว้นโกศล
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
หสวตีนคร : (นปุ.) นครหงสวดี พระนครหงสาวี ชื่อเมืองหลวงของชาติมอณ.
อญฺชลิอญฺชลีอญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่าประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก).วิ. อญฺเชติภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี.สนามหลวงแผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็นอิต.ส.อญฺชลิ.
อญฺชลิ อญฺชลี อญฺชุลี : (ปุ.) การประนมมือ, การไหว้ (ส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่า ประนมมือ), ประนมมือ, กระพุ่มมือ, กระพุ่มมืออันรุ่งโรจน์โดยยิ่ง, อัญชลี, อัญชุลี, ชุลึ (ตัด อัญ ออก). วิ. อญฺเชติ ภตฺติ มเนน ปกาเสตีติ อญฺชลิ อญฺชลี วา, อญฺชฺ ปกาสเน, อลิ, อลี. สนามหลวง แผนกบาลี ปี ๒๕๑๗ เฉลยเป็น อิต. ส. อญฺชลิ.
อติยกฺข : (ปุ.) โขนหลวง.
อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
อยุตฺตอยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย.คือคนที่เก็บของจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
อยุตฺต อยุตฺตก : (ปุ.) นายส่วย. คือคนที่เก็บของ จากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวง.
อวนฺติอวนฺตี : (อิต.) อวันตีชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ของอินเดียโบราณเมืองหลวงชื่ออุชเชนี.วิ. น วมนฺตีติอวนฺติ.นปุพฺโพ, วมุอุคฺคิรเณ, ติ, มสฺสนตฺตํ.อวตีติวาอวนฺติอวนฺตีวา.อวฺรกฺขเณ, นฺโต, อิตฺถิยํอี.ส.อวนฺติอวนฺติกาอวนฺตี.
อสฺสก : (นปุ.) อัสสกะชื่อแคว้นในอินเดียโบราณ เมืองหลวงชื่อโปตนะ.
อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
อินฺทยว อินฺทร : (ปุ.) ไม้มูกหลวง?
อินฺทินฺทิร : (ปุ.) ผึ้งใหญ่, ผึ้งหลวง.
อุปคุยฺห : (ปุ.) ราชพาหนะหลวง. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ยปจฺจโย, ยกฺปจฺจโย วา. เปลี่ยน ย ไว้หน้า ห.
อุทฺเทกนิก : ค. พ่น, พุ, ไหลพุ่ง