ชานาติ : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
ญ : (วิ.) รู้, ทราบ, ญา อวโพธเน, อ.
ญายติ : ค. รู้, ทราบ, เข้าใจ
นายเร : ก. รู้, ทราบ, เข้าใจ
อาชานาติ : ก. รู้, เข้าใจ, ทราบ, ตระหนัก
อุปชานาติ : ก. เรียน, รู้, ทราบ
กิร : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ดังได้สดับมา, ทราบว่า, ได้ทราบว่า, นัยว่า, ข่าวว่า. เป็น อนุสสวนัตถะ. ไม่ชอบใจ. เป็น อรุจิยัตถะ.
คพฺภาวกฺกนฺติ : (อิต.) การย่างลงสู่ครรภ์, การหยั่งลงสู่ครรภ์, การก้าวลงสู่ครรภ์.
คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
คาธติ : ก. หยั่งลง, ตั้งมั่น
ชานาเปติ : ก. ให้รู้, ให้ทราบ, ให้เข้าใจ
ชานิยา : ก. พึงรู้, พึงทราบ, พึงเข้าใจ
ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
ทุทฺทส : (วิ.) อัน...เห็นได้โดยยาก, เห็นยาก, เห็นได้ยาก (ยากที่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จะหยั่งรู้หยั่งเห็น). วิ. ทุกฺเขน ปสฺสิตพฺโพติ ทุทฺทโส. ทุกฺข+ทิสฺ +ข ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทส ลบ กฺข และ ปัจ. ซ้อน ทฺ.
นทีทุคฺค : นป. สถานที่ซึ่งเข้าไม่ถึงเพราะมีน้ำ, การหยั่งไปยากในแม่น้ำ, หล่ม
นิพฺพาโนคธ : ค. ซึ่งหยั่งลงสู่พระนิพพาน
นิเวเทติ : ก. ประกาศให้ทราบ, แจ้งให้ทราบ
ปฏิเวเทติ : ก. ให้รู้เฉพาะ, บอกให้ทราบ, ประกาศ
ปฏิสวิทิต : กิต. (อันเขา) ทราบชัดแล้ว, เข้าใจซึ้งแล้ว, รู้แล้ว, เสวย (เวทนา) แล้ว
ปฏิสเวที : ค. ผู้ทราบชัด, ผู้รู้สึก, ผู้เสวย (เวทนา), ผู้ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
ปฏิสเวเทติ : ก. ทราบชัด, รู้สึก, เสวย (เวทนา), ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
ปฏิหรติ : ก. นำกลับ, กลับคืน; บอก, แจ้งให้ทราบ
ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
ปริยาปนฺน : กิต. นับเนื่องแล้ว, หยั่งลงแล้ว, ถึงที่สุดแล้ว
ปริโยคาหติ : ก. หยั่งดู, หยั่งลง, ดำ, รุกเข้าไป
ปริโยคาหน : นป. การหยั่งดู, การหยั่งลง, การรุกเข้าไป
ปริโยคาฬฺห : กิต. หยั่งแล้ว, หยั่งลงแล้ว, รุกเข้าไปแล้ว, ดำแล้ว
ปเวทน : นป. การประกาศ, การบอก, การกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
ปเวทิต : ค. อันเขาประกาศแล้ว, บอกให้ทราบแล้ว, สอนแล้ว
ปเวเทติ : ก. ประกาศ, บอกให้ทราบ, แจ้งให้รู้
มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
วิคยฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว
วิคาหติ : ก. หยั่งลง
วิคาหน : นป. การหยั่งลง
สุท : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ทราบว่า, แล.
อคฺคธ : (วิ.) หยั่งไม่ถึง, ลึก. น+คธ ซ้อน คฺ.
อคาธ : (วิ.) หยั่งไม่ได้, หยั่งไม่ถึง, ลึก, ลึกมาก. นปุพ.โพ, คาธ. ปติฏฐากํขาสุ, อ. ส.อคาธ.
อชฺโฌคาหติ : ก. หยั่งลง, จมลง, โฉบลง, เข้าไป
อชฺโฌคาฬฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลฬเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น ฬรูป ฯ ๖๐๕หรือลง ฬปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฬฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
อชฺโฌสาน : (นปุ.) การหยั่งลง, ความหยั่งลง.ความติดใจ, ความชอบใจ, ความพอใจ.อธิ อว ปุพฺโพ, สา โอสานอสฺสาทเนสุ, ยุ
อตลมฺผสฺส : (วิ.) ไม่ยั่งยืน, ลึก, หยั่งไม่ถึง.
อนฺโตคธ : (วิ.) ถึงที่สุด, รวมเข้า, นับเข้า, หยั่งลง.วิ. อนฺโตโอคาธตีติอนฺโตคธํ.
อนาคตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
อนาคตสาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่ มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
อนุคาหต : ก. หยั่งลง, โฉบลง, กระโจนเข้าใส่
อนุวิจฺจ : กิต. รู้แล้ว, ทราบแล้ว, แทงตลอดแล้ว
อนุสฺสาเวติ : ก. ให้ได้ยิน, แจ้งให้ทราบ
อนุสาวก : ป. ผู้ประกาศ, ผู้แจ้งให้ทราบ
อนุสาเวติ : ก. ประกาศ, แจ้งให้ทราบ