Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หยั่งท่าที, หยั่ง, ท่าที , then ทาท, ท่าที, หยง, หยงทาท, หยั่ง, หยั่งท่าที .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หยั่งท่าที, 52 found, display 1-50
  1. คพฺภาวกฺกนฺติ : (อิต.) การย่างลงสู่ครรภ์, การหยั่งลงสู่ครรภ์, การก้าวลงสู่ครรภ์.
  2. คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
  3. คาธติ : ก. หยั่งลง, ตั้งมั่น
  4. ทุทฺทส : (วิ.) อัน...เห็นได้โดยยาก, เห็นยาก, เห็นได้ยาก (ยากที่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จะหยั่งรู้หยั่งเห็น). วิ. ทุกฺเขน ปสฺสิตพฺโพติ ทุทฺทโส. ทุกฺข+ทิสฺ +ข ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทส ลบ กฺข และ ปัจ. ซ้อน ทฺ.
  5. นทีทุคฺค : นป. สถานที่ซึ่งเข้าไม่ถึงเพราะมีน้ำ, การหยั่งไปยากในแม่น้ำ, หล่ม
  6. นิพฺพาโนคธ : ค. ซึ่งหยั่งลงสู่พระนิพพาน
  7. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  8. ปริยาปนฺน : กิต. นับเนื่องแล้ว, หยั่งลงแล้ว, ถึงที่สุดแล้ว
  9. ปริโยคาหติ : ก. หยั่งดู, หยั่งลง, ดำ, รุกเข้าไป
  10. ปริโยคาหน : นป. การหยั่งดู, การหยั่งลง, การรุกเข้าไป
  11. ปริโยคาฬฺห : กิต. หยั่งแล้ว, หยั่งลงแล้ว, รุกเข้าไปแล้ว, ดำแล้ว
  12. โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
  13. วิคยฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว
  14. วิคาหติ : ก. หยั่งลง
  15. วิคาหน : นป. การหยั่งลง
  16. อคฺคธ : (วิ.) หยั่งไม่ถึง, ลึก. น+คธ ซ้อน คฺ.
  17. อคาธ : (วิ.) หยั่งไม่ได้, หยั่งไม่ถึง, ลึก, ลึกมาก. นปุพ.โพ, คาธ. ปติฏฐากํขาสุ, อ. ส.อคาธ.
  18. อชฺโฌคาหติ : ก. หยั่งลง, จมลง, โฉบลง, เข้าไป
  19. อชฺโฌคาฬฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลฬเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น ฬรูป ฯ ๖๐๕หรือลง ฬปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฬฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
  20. อชฺโฌสาน : (นปุ.) การหยั่งลง, ความหยั่งลง.ความติดใจ, ความชอบใจ, ความพอใจ.อธิ อว ปุพฺโพ, สา โอสานอสฺสาทเนสุ, ยุ
  21. อตลมฺผสฺส : (วิ.) ไม่ยั่งยืน, ลึก, หยั่งไม่ถึง.
  22. อนฺโตคธ : (วิ.) ถึงที่สุด, รวมเข้า, นับเข้า, หยั่งลง.วิ. อนฺโตโอคาธตีติอนฺโตคธํ.
  23. อนาคตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  24. อนาคตสาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่ มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  25. อนุคาหต : ก. หยั่งลง, โฉบลง, กระโจนเข้าใส่
  26. อวกฺกนฺติ : อิต. การก้าวลง, การหยั่งลง, ความปรากฏ
  27. อวคาหติ (โอคาหติ) : ก. หยั่งลง, เข้าถึง
  28. อวตรณ : (นปุ.) การข้ามลง, การหยั่งลง.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, ยุ.ส.อวตรณ.
  29. อวตรติ : ก. หยั่งลง, แบ่งภาคลงมาเกิด
  30. อวตาร : (ปุ.) การลง, การหยั่งลง, การข้าม, การข้ามลง, ท่า, ท่าน้ำ, รู, ช่อง, โพรง, ละแวก.อวปุพฺโพ, ตรฺตรเณ, โณ.ส. อวตาร.
  31. อวติณฺณ (โอติณฺณ) : กิต. หยั่งลงแล้ว, อวตารลงมาแล้ว, แบ่งภาคลงมาเกิดแล้ว
  32. อเวจฺจ : ๑. กิต. หยั่งลงด้วยปัญญา, หยั่งรู้แล้ว ; ๒. ค. แน่ชัด ; ไม่หวั่นไหว, สมบูรณ์, มั่นคง
  33. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  34. โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  35. โอกฺกมน : (นปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
  36. โอกฺกมฺม : กิต. ก้าวลงแล้ว,หยั่งลงแล้ว
  37. โอคธ : (วิ.) หยั่งลง, นับเข้า, รวมกัน, ถึงที่สุด, วิ. อวคาธตีติ โอคธํ. โอปุพฺโพ, คาธฺ ปติฏฐา ยํ, อ.
  38. โอคยฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว, เข้าไปแล้ว
  39. โอคาธ : ๑. นป. ที่ที่มั่นคง; ๒. ค. ซึ่งหยั่งลง, ตั้งมั่น
  40. โอคาห : ป. การหยั่งลง, การโฉบลง, การจมลง
  41. โอคาหติ : ก. หยั่งลง, โผลง
  42. โอคาฬฺห : กิต. หยั่งลงแล้ว, เข้าไปแล้ว
  43. โอตารณ : นป. การก้าวลง, การหยั่งลง
  44. โอตาเรติ : ก. ให้หยั่งลง, ให้ก้าวลง
  45. โอติณฺณ : กิต. หยั่งลงแล้ว, ถูกเสียดแทงแล้ว, หลงรักแล้ว, ยึดติดแล้ว
  46. โอทหน : (นปุ.) การตั้งลง, การหยั่งลง. โอปุพฺโพ. ทหฺธารเณ, ยุ. อถวา, ธาธารเณ. แปลง ธา เป็น ทห.
  47. คพฺพิต : (วิ.) หยิ่ง, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  48. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  49. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  50. ภารปาทตา : (อิต.) ตีนทู่, เท้าทู่, โรคตีนทู่, โรคเท้าทู่.
  51. [1-50] | 51-52

(0.0510 sec)