Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หยิ่งยะโส, หยิ่ง, ยะโส , then ยส, ยโส, ยะโส, ยาโส, หยง, หยงยส, หยิ่ง, หยิ่งยะโส .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หยิ่งยะโส, 55 found, display 1-50
  1. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  2. ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
  3. อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง
  4. ยส : (ปุ.) ชื่อเสียง, ความยิ่ง, ความเด่น, ความยกย่อง, ความยกย่องนับถือ, เกียรติ, ยศ. วิ. ยชติ เอเตนาติ ยโส. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ชสฺสโส. สพฺพตฺถ ยาตีติ วา ยโส. ยา คมเน, โส, รสฺโส.
  5. อภิมาน : (วิ.) มีมานะยิ่ง, ถือตัวยิ่ง, ถือตัว, จองหอง, หยิ่ง.
  6. มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
  7. ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
  8. คพฺพิต : (วิ.) หยิ่ง, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
  9. ยสสฺสี : (วิ.) มียศ วิ. ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสสฺสี. ยส+สี ปัจ. แปลง ส เป็น สฺส. เป็น ยสสี โดยไม่แปลง ส บ้าง.
  10. คพฺพ : (ปุ.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความถือตัว. วิ. คพฺเพติ น สํกุจตีติ คพฺโพ. คพฺพฺ มาเน, อ. ครติ อญฺเญ อเนน ปีเฬตีติ วา คพฺโพ. ครฺ เสจเน, โพ.
  11. คพฺพน : (นปุ.) ความหยิ่ง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  12. ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
  13. ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
  14. ทปฺปิต : ค. เย่อหยิ่ง, อวดดี, จองหอง, ทะนง
  15. ทิตฺต : (วิ.) สวยงาม, สว่าง, กระจ่าง, ขาว, รุ่งเรือง, ลุกโพลง, ร้อน, เย่อหยิ่ง, ไว้ตัว. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โต.
  16. ธนตฺถทฺธ : ค. ผู้หยิ่งเพราะทรัพย์, ผู้กระด้างเพราะมีทรัพย์
  17. นิวาต : (วิ.) มีลมออกแล้ว, ไม่จองหอง, ไม่ พองตัว, ไม่เย่อหยิ่ง สงบ, เสงี่ยม, สงบเสงี่ยม, เจียมตัว, สุภาพ, เรียบร้อย, สุภาพเรียบร้อย, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม. ส. นิวาต.
  18. ปตฺถทฺธ : (วิ.) ปั้นปึ่ง (วางท่าเฉยไม่พูดจา), เย่อหยิ่ง, ไม่พอใจ, ไม่ใยดีด้วย. ป + ถทฺธ ศัพท์ ซ้อน ตฺ.
  19. พทฺธา : (อิต.) การตี, การประหาร, การทำให้ปั่นป่วน, การเบียดเบียน, ความหยิ่ง. พาธฺ วิโลลเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ธฺ รัสสะ อา เป็น อ.
  20. มญฺญนา : (อิต.) กิริยาที่ถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. มนฺ ญาเณ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง นฺย เป็น ญฺญ ยุ เป็น อน. แปลว่า ความสำคัญความเข้าใจ ด้วย.
  21. มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
  22. มานชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งความเย่อหยิ่ง, ฯลฯ.
  23. อจฺจสรา : อิต. ความหยิ่ง, ความถือตัว
  24. อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
  25. อติมานี : ป. ผู้หยิ่ง, ผู้ถือตัว
  26. อธิมาน : ป. ความทะนงตัว, ความเย่อหยิ่ง
  27. อธิมานิก : ค. มีความเย่อหยิ่ง, ผู้อวดดี
  28. อนุณฺณต : ก. วิ. ไม่ฟู, ไม่ลอย ; ถ่อมตน, ไม่หยิ่ง
  29. อนุทฺธต, อนุทฺธรี : ค. ไม่ฟุ้งซ่าน, ไม่อวดดี, ไม่หยิ่ง
  30. อนุสฺสท : ค. ไม่หยิ่ง, ไม่ถือตัว
  31. อปตฺถทฺธ : ค. ไม่กระด้าง, ไม่หยิ่ง
  32. อวเลป : (ปุ.) การชโลม, การลูบไล้, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, อติมานะ.วิ.อวลิมฺปนํอวเลโป.
  33. อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
  34. อหมหมิกา : (อิต.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความอหังการ.โบราณแปลว่าอภิมานะเป็นที่กระทำว่าเราว่าเรา.อหํอหํศัพท์อิกปัจ.วิ. อหํอคฺโคภวามิอหํอคฺโคภวามี-ติอหมหมิกา.
  35. อุญฺญา : อิต. การดูถูก, ความหยิ่ง
  36. อุณฺณม : ป. ความฟูขึ้น, ความพองตัว, ความหยิ่ง
  37. อุพฺพิลฺลาวิตาการ : (ปุ.) อาการเย่อหยิ่ง?
  38. ยสวิโลป เสนาปติฏฺฐานาทิก : (วิ.) (อุปสฺคฺค) มีการถอดซึ่งยศและการลดซึ่งตำแหน่ง มีตำแหน่งแห่งเสนบดี เป็นต้น.
  39. ยสสี ยสสฺสี : (ปุ.) คนมียศ.
  40. ยโสโภคสมปฺปิต : (วิ.) ผู้มียศและโภคะอันถึงพร้อมแล้ว, ผู้เพรียบพร้อมแล้วด้วยยศและโภคะ.
  41. ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
  42. กายสุจิ, กายโสเจยฺย : นป. ความสะอาดแห่งกาย, กายบริสุทธิ์
  43. กาฬยส : นป. เหล็ก
  44. เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
  45. เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
  46. มหายส : ค. ยศใหญ่
  47. ยสวนฺตุ : (วิ.) มียศ วิ. ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสวา. วนฺตุ ปัจ.
  48. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  49. นินฺเนชก : (ปุ.) ช่างฟอก, ช่างซัก, ช่างหนัง. นิชิ สุทฺธิยํ โสเจยฺยโสธเนสุ วา, ณฺวุ.
  50. นิยฺยาส : (ปุ.) ความไหลซึม, ยาง, ยางไม้, เหงือก. วิ. ปสนฺโน หตฺวา นิยสติ ปคฺฆรตีติ นิยฺยาโส. นิปุพฺโพ, ยสุ อายเต, โณ, อถวา, อสุ พฺยาปเน, ยฺอาคโม. ซ้อน ยุ.
  51. [1-50] | 51-55

(0.0570 sec)