ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
ทปฺป : (วิ.) เขลา, โง่, กระด้าง, หยิ่ง, จองหอง, โอ้อวด, ไว้ตัว, อหังการ. ทา กุจฺฉิตคมเน, อโป, รสฺโส, ปฺสํโยโค. หรือลง อพฺพ ปัจ. แปลง พ เป็น ป.
อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง
อภิมาน : (วิ.) มีมานะยิ่ง, ถือตัวยิ่ง, ถือตัว, จองหอง, หยิ่ง.
คพฺพิต : (วิ.) หยิ่ง, ฯลฯ. ต ปัจ. อิ อาคม.
คพฺพ : (ปุ.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความถือตัว. วิ. คพฺเพติ น สํกุจตีติ คพฺโพ. คพฺพฺ มาเน, อ. ครติ อญฺเญ อเนน ปีเฬตีติ วา คพฺโพ. ครฺ เสจเน, โพ.
คพฺพน : (นปุ.) ความหยิ่ง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
ชาติ (ตฺ) ถทฺธ : ค. ผู้กระด้างหรือเย่อหยิ่งเพราะชาติ
ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
ทปฺปิต : ค. เย่อหยิ่ง, อวดดี, จองหอง, ทะนง
ทิตฺต : (วิ.) สวยงาม, สว่าง, กระจ่าง, ขาว, รุ่งเรือง, ลุกโพลง, ร้อน, เย่อหยิ่ง, ไว้ตัว. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โต.
ธนตฺถทฺธ : ค. ผู้หยิ่งเพราะทรัพย์, ผู้กระด้างเพราะมีทรัพย์
นิวาต : (วิ.) มีลมออกแล้ว, ไม่จองหอง, ไม่ พองตัว, ไม่เย่อหยิ่ง สงบ, เสงี่ยม, สงบเสงี่ยม, เจียมตัว, สุภาพ, เรียบร้อย, สุภาพเรียบร้อย, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม. ส. นิวาต.
ปตฺถทฺธ : (วิ.) ปั้นปึ่ง (วางท่าเฉยไม่พูดจา), เย่อหยิ่ง, ไม่พอใจ, ไม่ใยดีด้วย. ป + ถทฺธ ศัพท์ ซ้อน ตฺ.
พทฺธา : (อิต.) การตี, การประหาร, การทำให้ปั่นป่วน, การเบียดเบียน, ความหยิ่ง. พาธฺ วิโลลเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ธฺ รัสสะ อา เป็น อ.
มญฺญนา : (อิต.) กิริยาที่ถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. มนฺ ญาเณ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง นฺย เป็น ญฺญ ยุ เป็น อน. แปลว่า ความสำคัญความเข้าใจ ด้วย.
มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
มานชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งความเย่อหยิ่ง, ฯลฯ.
อจฺจสรา : อิต. ความหยิ่ง, ความถือตัว
อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
อติมานี : ป. ผู้หยิ่ง, ผู้ถือตัว
อธิมาน : ป. ความทะนงตัว, ความเย่อหยิ่ง
อธิมานิก : ค. มีความเย่อหยิ่ง, ผู้อวดดี
อนุณฺณต : ก. วิ. ไม่ฟู, ไม่ลอย ; ถ่อมตน, ไม่หยิ่ง
อนุทฺธต, อนุทฺธรี : ค. ไม่ฟุ้งซ่าน, ไม่อวดดี, ไม่หยิ่ง
อนุสฺสท : ค. ไม่หยิ่ง, ไม่ถือตัว
อปตฺถทฺธ : ค. ไม่กระด้าง, ไม่หยิ่ง
อวเลป : (ปุ.) การชโลม, การลูบไล้, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, อติมานะ.วิ.อวลิมฺปนํอวเลโป.
อหการอหงฺการ : (ปุ.) ความถือตัว, ความทะนงตัว, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความถือเรา, อติมานะ, อภิมานะ. วิ. อหมิติอตฺตานํกโรติ เยน โสอหํกาโรอหงฺกาโรวา.อหํปุพฺโพ, กรฺกรเณ, โณ.อภิฯลงอปัจส.อหงฺการ.
อหมหมิกา : (อิต.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความอหังการ.โบราณแปลว่าอภิมานะเป็นที่กระทำว่าเราว่าเรา.อหํอหํศัพท์อิกปัจ.วิ. อหํอคฺโคภวามิอหํอคฺโคภวามี-ติอหมหมิกา.
อุญฺญา : อิต. การดูถูก, ความหยิ่ง
อุณฺณม : ป. ความฟูขึ้น, ความพองตัว, ความหยิ่ง
อุพฺพิลฺลาวิตาการ : (ปุ.) อาการเย่อหยิ่ง?