ปญฺหา : อิต. คำถาม
คติปฏิฆาต : (วิ.) กำจัดการไป, หยุด, ฯลฯ.
ฐเปติ : ก. วาง, ตั้งไว้, หยุด, เว้น, กำหนดตั้ง, แต่งตั้ง, บรรจุ
ติฏฺฐติ : ก. ยืน, ตั้ง, พัก, ดำรง, หยุด
ปฏิวฺยาหรติ : ก. บอกคืน, เลิก, หยุด
ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ;
๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ;
๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
อภิสมฺมติ : ก. สงบ, ระงับ, หยุด
อล (หล) : ๑. อ. พอ, เพียงพอ, หยุด, อย่าเลย ;
๒. ค. สามารถ, ควร, แน่นอน, เหลือคณนา, นับไม่ได้
ปฏิจฺฉาเทติ : ก. ปกปิด, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, อำพราง, นุ่งห่ม, พัน, ปิด, รักษา (แผล); กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, อำพราง (ปัญหา)
ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
กุมารีปญฺห : ป. การอัญเชิญเทวดาให้เข้าทรงหญิงสาวแล้วถามปัญหา, การให้หญิงสาวเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงหญิงสาว
คตินิวตฺติ : (อิต.) การห้ามการไป, การหยุด, ฯลฯ.
ฐ : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่,
ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
ฐปาเปติ : ก. ให้ตั้งไว้, ให้วางไว้,ให้หยุด
ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
ฐายิ : (วิ.) หยุดอยู่, ยืนอยู่, ตั้งอยู่, ดำรงค์อยู่. ฐา ธาตุ อิ ปัจ. แปลง อา เป็น อาย.
ฐิต : (นปุ.) การหยุด, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ. ฐาธาตุ ต ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
ถาน : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่, ดำรง, ดำรงอยู่, คง, คงอยู่.
เทวปญฺห : นป. การอัญเชิญเทวดาเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงเจ้า
เทวปญฺห, - หา : ป., อิต. ปัญหาของเทวดา, ปัญหาเทวดา
นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
ปญฺหาวฺยากรณ : นป. การตอบปัญหา
ปญฺหาวิสชฺชน : นป. การแก้ปัญหา
ปฏิจิกฺขติ : ก. กล่าวตอบ, แก้ปัญหา
ปฏิวิเสส : ป. อาการอันพิเศษยิ่งขึ้น, อาการที่แยกแยะให้เห็นเฉพาะแต่ละอย่างๆ (เกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหา)
ปณฺฑา : อิต. ปัญหา, ความรู้
ปาฏิโมกฺขฐปน : นป. การหยุดสวดปาฏิโมกข์
ปาฏิหาริยปกฺข : ป. วันหยุดงานพิเศษ คือ วัน ๗ ค่ำ, ๙ ค่ำ, ๑๓ ค่ำ, และ ๑ ค่ำ
พุทฺธปญฺห : ป. ปัญหาที่เกี่ยวกับพระพุทธมนต์ ซึ่งพระสารีบุตรถามปริพพาชิกา ชื่อกุณฑลเกสี
ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
วฺยนฺตีภวติ : ก. หยุด, ถึงที่สุด
สณฺฐหน : นป. การหยุดพัก, การสร้างขึ้น
อนฺตราล, อนฺตราฬ : นป. ภายในระหว่าง, ระหว่างการหยุดพัก
อนิวตฺตน : นป. การไม่หยุด, การไม่กลับ
อนุปสณฺฐปนา : อิต. ไม่หยุดอยู่, ความเป็นไปไม่ขาดระยะ
อปุจฺฉ : ค. ไม่ใช่ปัญหา, ไม่น่าถาม
อวฏฺฐิติ : (อิต.) ความหยุดอยู่, ความตั้งอยู่, ความดำรงอยู่.อวปุพฺโพ, ฐาตคินิวตฺติยํ, ติ, อาสฺสิ (แปลงอาเป็นอิ), ฏฺสํโยโค.
อวรต : ค. หยุด, งด
อวสี : ๑. ค. ไม่มีอำนาจ ; ไม่ชำนาญ ; ควบคุมไม่ได้ ;
๒. ก. ได้หยุดพักอยู่แล้ว
อสมฺปายนฺต : อิต. ไม่อาจแก้หรืออธิบายได้, ไม่อาจตอบปัญหาได้
อาทาสปญฺห : ป., นป. การเชิญเทวดาให้ปรากฏในกระจกแล้วถามปัญหา, การเล่นผีถ้วยแก้ว
อารติ : (อิต.) การงด, การเว้น, การงดเว้น, การเลิก, การหยุด, ความงด, ฯลฯ.วิ.ทูรโตวิรมณํอารติ.อาปุพฺโพ, รมุอุปรมเน, ติ, มุโลโป.ส.อารติ.
อุปจฺฉินฺทติ : ก. ตัด, ทำลาย, หยุดชะงัก
อุปจฺเฉท : ป. การตัด, การทำลาย, การหยุดชะงัก
อุปจฺเฉทก : ค. ผู้เข้าไปตัด, ผู้เข้าไปทำลาย, ซึ่งหยุดชะงัก
อุปสณฺฐปณา : อิต. การหยุดอยู่, การตั้งไว้
เอกสวยากรณ : นป. การตอบปัญหาแง่เดียว