ปภสฺสติ : ก. ตก, พลัดตก, ลุ่ย, หลุด, หายไป
ขณฺฑทนฺต : ค. ผู้มีฟันหัก (ฟันหลุด)
ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
คนฺถปฺปโมจน : นป. การหลุดพ้นจากเครื่องร้อยรัด
จาวนา : อิต. การทำให้เคลื่อน, การทำให้พ้นไป, การทำให้หลุดไป
จาเวติ : ก. ทำให้เลื่อน, ทำให้พ้น, ทำให้หลุดไป, พราก, ไล่
เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
ฌานวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยฌาน
ญาณวิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้นเพราะอาศัยญาณ
ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธินิสฺสร – ณวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยสามารถ แห่งองค์นั้นๆ และความหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันข่ม และหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันสงบเฉพาะและความหลุดพ้นด้วยสามารถแห่งอันออกไป.
ตทงฺควิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยองค์ นั้น ๆ, ฯลฯ คำแปลและ วิ. เลียนคำ ตทงฺคปหาน.
ทพฺพ. : (ปุ.) บุคคลผู้ควรหลุดพ้น, บุคคลผู้ควรบรรลุมรรคผล. บัณฑิต. ทุ วุฒิยํ, อพฺโพ.
นิชฺชฏ : ค. หมดความยุ่งยาก, หลุดออก, แก้ออก
นิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้น, ความหมดกิเลส, อรหัต, นิพพาน
ปญฺญาวิมุตฺติ : อิต. ความหลุดพ้นเพราะปัญญา
ปฏินิสฺสรติ : ก. ออกไป, พ้นไป, หลุดพ้น
ปนฺนภาร : ค. ผู้มีภาระอันปลงลงแล้ว, ผู้ปลงภาระลงแล้ว, ผู้หมดภาระ, ผู้เสร็จกิจ, ผู้หลุดพ้นแล้ว
ปปฏิกา ปปฺปฏิกา : (อิต.) กระบิ คือ แท่ง หรือแผ่นหรือชิ้น ที่บิหรือแยกจากส่วน ใหญ่, สะเก็ด คือชิ้นย่อยของไม้หรือหินที่ แยกจากส่วนใหญ่, กะเทาะ คือสิ่งของหรือ เปลือกไม้ที่หลุดจากพื้นเดิม หรือจากต้น. ป+ปฏ+อิก ปัจ. สกัด อาอิต.
ปมุกฺก : (ปุ.) ความพ้น, ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, โก. แปลง จฺ เป็น กฺ.
ปมุจฺจติ : ก. หลุด, พ้น, หลุดพ้น
ปมุญฺจน : (นปุ.) ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ โมจเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
ปมุตฺต : ค. ผู้ถูกปลดปล่อย, ผู้ถูกเหวี่ยง, ผู้ถูกสลัดไปแล้ว; ผู้หลุดพ้น, ผู้เป็นอิสระ
ปมุตฺติ : อิต. การปลดปล่อย, ความหลุดพ้น, ความเป็นอิสระ
ปมุตฺย : นป. ความเป็นผู้หลุดพ้น
ปโมกฺข : ป. การเปลื้อง, การปลดปล่อย, การเปล่ง, การหลั่งไหล; ความหลุดพ้น
ปโมจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปลด, การเปลื้อง, การปล่อย, การแก้, การปลดเปลื้อง, การปลดปล่อย, ปปุพฺโพ, มุจฺ วิโมกฺเข, ยุ.
ปรินิพฺพายี : ค. ผู้ดับ, ผู้ประสพความหลุดพ้น
ปริมุจฺจน : นป. การหลุดพ้น, การพ้น
ปริมุตฺต : กิต. พ้นแล้ว, หลุดพ้นแล้ว
ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
มุจฺจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปล่อย, การวาง, ความหลุด, ฯลฯ. มุจฺ โมจเน, ยุ. ซ้อน จฺ.
โมกฺขก : ป. ผู้หลุดพ้น
โมกฺขติ : ก. หลุดพ้น
โมกฺขธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องพ้น, ธรรม คือความหลุดพ้น, โมกษธรรม.
โมกฺขมคฺค : ป. ทางแห่งความหลุดพ้น
โมจาปน : นป. เหตุแห่งความหลุดพ้น,ความหลุดพ้น
โลกุตฺตร : ค. โลกุตร, สิ่งที่หลุดพ้นแล้วจากโลก
วิมุตฺติ : อิต. การหลุดพ้น
วิโมกฺข : ป. ความหลุดพ้น
วิโมเจติ : ก. หลุดพ้น
อณิ : (อิต.) ลิ่ม.สลัก (สิ่งที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด), ขอบ, ที่สุด.อณฺคติยํอิ. เป็นอณี อาณิ อาณี ก็มี. ส. อณิ. อาณิ.
อติขีณ : ค. เมื่อยล้า, อ่อนแรง; หลุดไปจากแล่ง
อวิมุตฺต : ค. ไม่หลุดพ้น, ไม่พ้น
อุภโตภาควิมุตฺต : ค. ผู้หลุดพ้นแล้วโดยส่วนสอง คือโดยเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ