Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หล , then หล, หฬ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หล, 28 found, display 1-28
  1. หล : นป. คันไถ
  2. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  3. หล : (อัพ. นิบาต) อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร. รูปฯ.
  4. โกตูหล, - หฬ : นป. ความอึกทึก, ความครึกโครม
  5. กลหล : (ปุ.) เสียงกึกก้อง, เสียงเซ็งแซ่, โกลาหล. กลปุพฺโพ, หลฺ วิเลขเณ, อ.
  6. กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ  ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ   ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
  7. สีหล สีหฬ : (ปุ.) สีหล สีหฬ ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
  8. หฬ : (ปุ.) การยกย่อง. หฬฺ สิลาฆายํ, อ.
  9. กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
  10. กุตูหลสาลา : อิต. ศาลาพักผ่อน, โรงหย่อนใจ, ศาลาสาธารณะ
  11. โกตุหล โกตูหล โกตูหฬ : (วิ.) แตกตื่น, ตื่นข่าว, เอิกเกริก.
  12. โกตูหลสาลา : (อิต.) ศาลาสาธารณะ.
  13. เทหนี, - หล : อิต. ธรณีประตู
  14. สีหล : ป. ชาวสิงหฬ
  15. อทูหล : (นปุ.) ฟ้าทับเหว.
  16. อนีนาสุหล : (วิ.) สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันพระองค์.
  17. อล (หล) : ๑. อ. พอ, เพียงพอ, หยุด, อย่าเลย ; ๒. ค. สามารถ, ควร, แน่นอน, เหลือคณนา, นับไม่ได้
  18. หลหล : (วิ.) กล้าและกล้า, แข็งเท่าแข็., ร้ายเท่าร้าย, ร้ายกาจ. หนฺ หึสายํ, อ, นสฺส โล. หล+หล ทีฆะในท่ามกลาง.
  19. กูฏงฺค : นป. บ่า, ไหล่, จะงอยบ่า
  20. เฏร เฏรก : (วิ.) เหล่ เช่นตาเหล่. ฏุ ปีฬนธํ – เสสุ, โร. แปลง อุ เป็น เอ ศัพท์หลัง ก สกัด. ดำรงค์อยู่. ฐา คตินิวตฺติยํ, อ. .
  21. โทหฬ : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โฬ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโฬ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโฬ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโฬ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโฬ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ฬ ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโฬ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโฬ. ส. โทหล.
  22. หุลฺย หุลฺล : (นปุ.) หนาม, หอก, ลูกศร. หุลฺ คติยํ, โย, โล วา. รูปฯ ๖๔๐.
  23. หล : (อิต.) ธรรมชาติตัดซึ่งทุกข์, เหลา ชื่อกิริยาท่าทาง. น่าเสน่หาของหญิง. วิ. หึ ทุกฺขํ ลุนาตีติ เหลา. หิปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อิตฺถิยํ อา. หิลฺ หาวกรเณ, อ. เป็น เหฬา บ้าง.
  24. องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
  25. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
  26. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  27. อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล
  28. หึลิต หึฬิต : (วิ.) ละอาย, ติเตียน, นินทา. หีฬฺ นินฺทาลชฺชาสุ, โต, อิ อาคโม.
  29. [1-28]

(0.0147 sec)