Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หวั่นวิตก, หวั่น, วิตก , then วิตก, หวน, หวนวตก, หวั่น, หวั่นวิตก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หวั่นวิตก, 123 found, display 1-50
  1. กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
  2. พฺยปฺปนา : (อิต.) ความตริ, ความตรึก, วิตก, วปุพฺโพ, อปฺปฺ ปาปุณเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  3. หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
  4. กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
  5. กมฺปก : ค. ผู้หวั่นไหว, ผู้ทำให้หวั่นไหว
  6. กมฺปติ : ก. ไหว, หวั่นไหว, กระเพื่อม
  7. กมฺปนาการปตฺต กมฺปนาการปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึง แล้วซึ่งอาการคือความหวั่นไหว.
  8. กมฺปิย : ค. น่าหวั่นไหว, มีความสะเทือน
  9. กมฺเปติ : ก. ทำให้หวั่นไหว, ทำให้สะเทือน
  10. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  11. กุปฺปติ : ก. โกรธ, เคือง, หวั่นไหว, กำเริบ, สะเทือน
  12. กุปิต : ค. ผู้โกรธแล้ว, ผู้ขัดเคืองแล้ว; หวั่นไหวแล้ว, กำเริบแล้ว
  13. กุลจล : (ปุ.) กุลาจละ ชื่อภูเขามีรากไม่หวั่นไหว มี ๘ ลูก มีเขาสุเมรุ เป็นต้น.
  14. กุสลวิตกฺก : ป. กุศลวิตก, ความตรึกที่เป็นกุศล
  15. กูฏฏฐ : ค. สม่ำเสมอ, เนืองนิจ, แน่นอน, ถาวร, มั่นคง, ไม่หวั่นไหว, ตั้งตรง
  16. โขเภติ : ก. สะดุ้ง, กระเพื่อม, หวั่นไหว, ไม่สงบ
  17. จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
  18. จปลตา : อิต. ความกวัดแกว่ง, ความหวั่นไหว
  19. จล : ค. หวั่นไหว, โคลงเคลง, ยุ่งยาก
  20. จล จลน : (วิ.) ไหว, หวั่นไหว, เคลื่อน, เคลื่อน ไหว, สั่น, รัว, กระดิก, โยก, โยกโคลง, โคลง, กลับกลอก. จลฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
  21. จลจิตฺต : ค. ผู้มีจิตหวั่นไหว, ผู้มีจิตไม่มั่นคง
  22. จลติ : ก. ไหว, หวั่นไหว, สั่น, คลอนแคลน, กระเพื่อม, พลิ้ว, สะบัด
  23. จลน : (วิ.) ผู้มีความหวั่นไหวเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. จลิตุ สีลํ อสฺสาติ จลโน. ฯลฯ.
  24. จลาจล : (วิ.) หวั่นไหว, วุ่นวาย, ปั่นป่วน.
  25. จลิต : ค., นป. ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งสั่น, ซึ่งคลอนแคลน, การเคลื่อนไหว, การหวั่นไหว
  26. จาเลติ : ก. ทำให้ไหว, ทำให้เคลื่อนไหว, ให้หวั่นไหว, ร่อน
  27. จิตฺตปโกปน : นป. การทำจิตใจให้กำเริบ, การทำจิตใจให้หวั่นไหว, การทำจิตใจให้สั่นสะเทือน
  28. โจปน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, การยัง...ไห้ หวั่นไหว. จุ จวเน, ณาเป ปัจ. เหตุ. และ ยุ ปัจ.
  29. ตกฺก : (ปุ.) ความตริ, ความตรึก, ความคิด, ความนึก, ความวิตก (ตรึก). วิ. ตกฺเกติ สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมณมฺหิ โรเปตีติ ตกฺโก. ตกฺกฺ วิตกฺเก, อ.
  30. ตณฺหามานทิฏฺฐิอิญฺชิต : (วิ.) (กิเลสชาต กิเลส ชาติ) อันบุคคลให้หวั่นไหวคือตัณหาและ มานะ และทิฏฐิ.
  31. ตรล : (วิ.) กลิ้ง, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, หมุนรอบตัว, ลอยไป, ปลิวไป. ตรฺ สมฺภมปฺลวเนสุ, อโล.
  32. ถิรตา : อิต. ความมั่นคง, ความไม่หวั่นไหว, ความคงทน
  33. ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
  34. ธมฺมวิตกฺก : ป. ธรรมวิตก, ความตรึกในธรรม, ความตรึกถึงธรรม
  35. ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
  36. ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
  37. ธุต, (ธูต) : กิต. สบัดแล้ว, หวั่นไหวแล้ว, กำจัดแล้ว, ทำลายแล้ว
  38. ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
  39. ธูต : (วิ.) หวั่นไหว, กล่าวโทษ, ติเตียน, ตัดสิน. ธู กมฺปเน, โต.
  40. นิจฺจล : ค. ไม่หวั่นไหว, ไม่เคลื่อน, คงที่
  41. นิริญฺชน : ค. อันไม่เคลื่อนไหว, อันไม่หวั่นไหว, คงทน, คงที่
  42. นิรีห, นิรีหก : ค. ไม่เคลื่อน, ไม่หวั่นไหว, นิ่ง, อยู่เฉยๆ
  43. ปกมฺปติ : ก. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน
  44. ปกมฺปน : นป. การหวั่นไหว, การสั่นสะเทือน
  45. ปฏิโกเปติ : ก. ทำให้สั่น, ทำให้หวั่นไหว, ทำให้กำเริบ, ทำให้เสีย, ทำลาย (การรักษาอุโบสถ)
  46. ปวฺยเถติ : ก. ให้สั่นสะเทือน, ให้หวั่นไหว
  47. ปวฺยธิต : ค. หวั่นไหว, สั่นสะเทือน, สะดุ้งกลัว
  48. ปเวธติ : ก. หวั่นไหว, สะเทือน, สะดุ้ง
  49. ปเวธิต : ค. ซึ่งทำให้หวั่นไหว, ซึ่งสะเทือน, ซึ่งสะดุ้ง
  50. โปณ : (วิ.) เอียง, เอียงไป, น้อม, น้อมไป, ลุ่ม, ลึก, เงื้อม, หวั่นไหว, หลบหลีก. ปุ โอนเต, โณ. ไม่ลบ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-123

(0.0660 sec)