Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หัวเราะเยาะ, หัวเราะ, เยาะ , then ยา, เยา, เยาะ, หวรายา, หัวเราะ, หัวเราะเยาะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หัวเราะเยาะ, 613 found, display 1-50
  1. ฆฆติ : ก. หัวเราะ, หัวเราะเยาะ
  2. อนุหสติ : ก. หัวเราะ, หัวเราะเยาะ
  3. อวหสติ : ก. หัวเราะเยาะ
  4. อูหสติ : ก. หัวเราะเยาะ, ล้อ
  5. อวหาส : ป. การแย้มหัว, การหัวเราะเยาะ
  6. อูหสน : นป. การหัวเราะเยาะ, การล้อ
  7. ปริภาสติ : ก. บริภาษ, เยาะ, ด่า
  8. อภิหสติ : ก. ดีใจ, ร่าเริง, ปลื้มใจ, หัวเราะ
  9. ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
  10. ปมฺหยติ : ก. หัวเราะ
  11. หาส : (วิ.) ยินดี, ร่าเริง, รื่นเริง, บันเทิง, เพลิน, สรวล, เสสรวล, เฮฮา, หัวเราะ. หสฺ หสเน, โณ.
  12. หาสติ : ก. หัวเราะ
  13. เกลิ เกฬิ : (นปุ.) ความเยาะเย้ย. กีฬฺ วิหาเร, ณิ.
  14. เกฬิ : อิต. กีฬา, การเล่น; การเยาะเย้ย
  15. ชกฺขติ : ก. หัวเราะ, กิน, บริโภค
  16. ชคฺคหน : นป. การหัวเราะ
  17. ชคฺฆ ชคฺฆิ : (ปุ.?) การร่าเริง, การรื่นเริง, การหัวเราะ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ชคฺฆฺ หสเน, อ, อิ. ชคฺฆิตาเย เพื่ออันหัวเราะ. ตาเย ปัจ.
  18. ชคฺฆติ : ก. หัวเราะ, กระซิกกระซี้, พอใจ
  19. ชคฺฆนนา : อิต., ชคฺฆิต นป. การหัวเราะ
  20. ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
  21. ทวกมฺม : (นปุ.) การเล่นหัวเราะกัน.
  22. ปชคฺฆติ : ก. หัวเราะดัง
  23. ปริหสติ : ก. หัวเราะ, เย้ยหยัน
  24. ปริหาส : ป. การรื่นเริง, การหัวเราะ, การเย้ยหยัน
  25. ปหสฺสติ : ก. หัวเราะ, ร่าเริง
  26. ปหาส : ป. การหัวเราะ, การร่าเริง, การยินดีเพลิดเพลิน
  27. ปหาสติ : ก. หัวเราะ, ร่าเริง, ยินดี
  28. ปหาเสติ : ก. ทำให้หัวเราะ, ทำให้ร่าเริง, ทำให้ยินดี
  29. มหาหาส : (ปุ.) การหัวเราะใหญ่, การหัวเราะหนักหนา.
  30. สงฺฆฏฺฏน : นป. การเสียดสี, การท้าทาย, การยั่ว, การเยาะเย้ย
  31. สงฺฆฏฺเฏติ : ก. เสียดสี, ท้าทาย, เยาะเย้ย
  32. สญฺชคฺฆติ : ก. หัวเราะ, ซิกซี้
  33. หสติ : ก. หัวเราะ, ยินดี, รื่นเริง
  34. หสน : (นปุ.) การหัวเราะ, การร่าเริง, การสรวล (หัวเราะร่าเริง), การสรวลเส, การเสสรวล (หัวเราะเล่น), การเฮฮา. วิ. หสียเตติ หสนํ. หสฺ หสเน, ยุ. ส. หส, หสน.
  35. หสฺส : (นปุ.) การหัวเราะ, ฯลฯ, หัสสะ( ร่าเริงตลก) ชื่อ นาฎยรส อย่างที่ ๕ ใน ๙ อย่าง. หสฺ+ณฺย ปัจ. อิ อาคม. ส. หสิต.
  36. หสิต : (นปุ.) การหัวเราะ, ฯลฯ, วิ. หสนํ หสิตํ. ต ปัจ. อิ อาคม. ส. หสิต.
  37. หาสิต : กิต. หัวเราะแล้ว
  38. อฏฺฏหาส : (วิ.) หัวเราะเสียงดัง, หัวเราะมาก
  39. อนมฺห : นป. การไม่หัวเราะ, การร้องไห้
  40. อหุหาริย : นป. หัวเราะลั่น, หัวเราะเสียงดัง
  41. อุชฺชคฺฆติ : ก. หัวเราะลั่น, หัวเราะดัง
  42. อุชฺฌคฺคิกา : อิต. การหัวเราะดัง
  43. อุปฺปฑนา : อิต. การเยาะเย้ย, การเสียดสี
  44. อุปฺปณฺเฑติ : ก. เยาะเย้ย, หยัน, เสียดสี
  45. อุมฺหยติ : ก. หัวเราะ, ยิ้มแย้ม
  46. อุมฺหาเปติ : ก. ให้หัวเราะ, ให้ยิ้มแย้ม
  47. อุมฺหิต : กิต. หัวเราะแล้ว
  48. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  49. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  50. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-613

(0.0738 sec)