กตนิสฺสม : ค. ไม่เหน็ดเหนื่อย, กล้าหาญ
กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
กาตฺร : (วิ.) ไม่หาญ, ฯลฯ. กุ ศัพท์ ตฺรณฺ ปัจ. แปลง กุ เป็น กา กัจฯ ๖๕๖.
นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
ปริสหติ : ก. องอาจ, กล้าหาญ, อดทน, ปกครอง
ปวีร : ค. ผู้กล้าหาญ
วิกฺกนฺต : นป. ความกล้าหาญ
วิกฺกม : ป. การก้าวไป, การกล้าหาญ, ชัยชนะ
สรท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครั่นคร้าม. สุรปุพฺโพ, ทา เฉทเน, อ. แปลง อุ เป็น อ.
สารท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครันคร้าม, ไม่มีฝีมือ. ดู สรท ประกอบ.
สุปคพฺภ สุปฺปคพฺภ : (วิ.) องอาจยิ่ง, องอาจนัก, กล้าหาญยิ่ง, กล้าหาญนัก, ว่องไวยิ่ง. ว่องไวนัก.
สุร : (วิ.) เป็นใหญ่, กล้า, กล้าหาญ, เข้มแข็ง, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง. สุรฺ อิสฺสริยทิตฺตีสุ, อ.
สูร : ๑. ค .กล้าหาญ;
๒. ป. พระอาทิตย์
อธิรอธีร : (วิ.) ผู้ไม่หาญ, ผู้ไม่กล้าหาญ, วิ.น ธีโรสูโรอธีโร.
อธิร อธีร : (วิ.) ผู้ไม่หาญ, ผู้ไม่กล้าหาญ, วิ. น ธีโร สูโร อธีโร.
อธีร : ค. ไม่หาญ, ไม่ฉลาด
อวีร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่กล้าหาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ฉงน.
อาสภี : ค. เข้มแข็ง, ประเสริฐ, กล้าหาญ, เหมือนวัวตัวผู้