หาน : (นปุ.) ความละ, ความสละ, ความวาง, ความปล่อย. หา จาเค, ยุ.
หาน หานิ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเลว, ความทราม, ความทรุดโทรม. หา ปริหานิเน, ยุ, นิ.
คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
อปริหานธมฺม : (วิ.) ผู้มีอปริหานธรรม.
คิมฺหาน : ป. ฤดูร้อน
ตณฺหานที : อิต. แม่น้ำคือตัณหา
ทารุสมาทหาน : นป. การรวบรวมไม้, การเก็บไม้มารวมกัน, การเก็บฟืน
นฺหาณจุณฺณ นฺหานจุณฺณ : (นปุ.) ผงผสม น้ำอาบ.
นฺหาณ นฺหาน : (นปุ.) การอาบ, การอาบน้ำ. นฺหา โสเจยฺเย, ยุ.
นฺหาน : (วิ.) เป็นเครื่องอาบ, เป็นที่อาบ.
นหาน, (นฺหาน) : นป. การอาบน้ำ
นฺหานเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่อาบ, เวลาแห่ง การอาบ.
หานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ฯลฯ, ความทรุดโทรม, ความฉิบหาย. หา ปริหานิเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ยุ เป็น อน.
อปริหานธมฺม, อปริหานิยธมฺม : ป., ค. ผู้มีธรรมอันไม่เสื่อม
อวฺหาณอวฺหาน : (วิ.) เรียก, ร้องเรียก, คร่ำครวญ.ยุปัจ.
อวฺหาน : นป. ชื่อ, การร้องเรียก, การขานชื่อ
อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
กกฺก : (ปุ.) จุณสำหรับอาบ (นฺหานจุณฺณ). กชฺชฺ พฺยถเน, อ. แปลง ชฺช เป็น กก. หนอก หนอกโค ก็แปล.
กลกณฺฑ : ป. นกเขา, นกพิราบ, หงส์ , ห่าน
จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
ชาลปาท : ป. เป็ด, ห่าน
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.