อปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าวิ.อสฺสาสสํขาต-อานโตอปคตนฺติอปานํ.อปปุพฺโพ, อนฺปาณเน, อ.แปลว่าลมหายใจออกก็มี.
อสฺสาส : (ปุ.) ลมหายใจออกวิ. อาปุนปฺปุนํสสนฺติเยนโสอสฺสาโส.อาปุพฺโพ, สสฺปาณเน, อ.อานนฺติอสฺสาโส.ไตร๒๑/๒๕๘.คัมภีร์ส่วนมากแปลว่าลมหายใจเข้า?
อสฺสาสปสฺสาส : ป. การหายใจเข้าและหายใจออก
อาน : (นปุ.) ลมหายใจออก.วิ.อนฺนติอเนนาติอานํ. อนฺปาณเน, โณ. อานนฺติอสฺสาโสอปานนฺติปสฺสาโส.แปลว่าลมหายใจเข้าอุ.อานาปนสติสติกำหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก, สติกำหนดลมหายใจเข้าออก.ส.อาน.
อาน, อาณ : นป. การหายใจเข้า, ลมหายใจ
อานาปาณอานาปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าและลมหายใจออก.
อานาปานสติ : (อิต.) สติกำหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก, สติกำหนดลมหายใจเข้าออก.
อานาปาน, อาณาปาณ : นป. การหายใจเข้าออก, การสูดลมเข้าออก
อาปาณ : นป. การหายใจเข้าออก, ลมหายใจเข้าออก, ชีวิต
มสารก : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าในขา. วิ. ยสฺส ปาทจฺฉิทฺเท อฏนิ ปเวเสตฺวา ติฏฺฐติ โส มสารโก. มสฺ อามสเน อร ปัจ. ก สกัด.
กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
กติกาสณฺฐาน : นป. การเข้าถึง, การนัดหมายกัน, การตกลงกัน
กปฺปิยานุโลม : นป. ความที่เข้ากันได้กับกฎ, การอนุโลมตามกฎ
กปิฏฐ : ป., นป. มะขวิด; กระพุ่มมือ, การประสานนิ้วมือเข้ากัน
กมฺมปตฺต : ค. ผู้ถึงกรรม, (ภิกษุ) ผู้เข้ามาท่ามกลางสงฆ์ เพื่อทำสังฆกรรม
กวล กวฬ กพล : (ปุ.) คำ คือของที่รวมเข้า หรือตะล่อมเข้า พอใส่ปากได้ครั้งหนึ่ง ๆ, คำข้าว. ส. กวก, กวล.
กามูปปตฺติ : อิต. กามอุบัติ, การเข้าถึงกาม, การเกิดขึ้นแห่งกาม
กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
กุณ : (วิ.) หดเข้า, สั้นเข้า, งอ, หงิก, ง่อย.
กุณลี : ค. หดเข้ามา, งอเข้ามา
กุมารีปญฺห : ป. การอัญเชิญเทวดาให้เข้าทรงหญิงสาวแล้วถามปัญหา, การให้หญิงสาวเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงหญิงสาว
กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
กุลูปก, - ปค : ค. ผู้เข้าไปอาศัยตระกูล, ผู้เข้าถึงตระกูล, คุ้นเคยกับตระกูล
เกลาส : (ปุ.) เกลาสะ ไกลาส ชื่อภูเขา วิ. เก ชเล ลาโส ลสนํ ทิตฺติ อสฺสาติ เกลาโส. ลสฺ กนฺติยํ, โณ. ไทยเขียน ไกรลาส เพราะแทรก ร เข้ามา. ส. ไกลาส.
เกสิก : ค. (ผลมะม่วง) มีไคล, เข้าไคล
คยฺหุปค คยฺหูปค : (วิ.) อันเข้าถึงซึ่งความเป็น ของอัน...พึงถือเอา, เข้าถึงซึ่งความเป็นของ ควรถือเอา.
คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
คามทฺวาร : นป. ประตูใหญ่, ประตูบ้าน, ประตูเข้าบ้าน
คุณูเปต : ค. ผู้เข้าถึงคุณความดี
เคหปฺปเวสน : นป. การเข้าสู่เรือน, พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่
จตุโรปธิ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องยังทุกข์ให้เข้า ไปตั้งไว้สี่, อุปธิสี่. อุปธิ ๔ คือ ขันธ์ กาม กิเลส และกรรม.
จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
ชาติชรูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงชาติและชรา.
ฌายก : ค. ผู้เพ่ง, ผู้ตรึก, ผู้เข้าสมาธิ; ผู้เผา, ผู้ก่อไฟ
ฌายย : นป. การเพ่ง, การเข้าสมาธิ; การเผา
ญาณูปปนฺน : ค. ผู้เข้าถึงญาณ, ผู้บรรลุญาณ, ผู้ประกอบด้วยความรู้
ต ตต ตนฺต : (วิ.) นั้น, นั้นๆ. เป็น ต ศัพท์ที่ เข้าสมาส ลงนิคคหิตอาคมเพื่อความสละ สลวย และความไพเราะ อุ. ตํขณ ตงฺขณ
ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
ตทุเปต : ค. อันเข้าถึงสิ่งนั้น, ประกอบด้วยสิ่งนั้น
ทตฺตก : (ปุ.) ลูกอันเข้าให้, ลูกบุญธรรม, ลูกเลี้ยง. ทา ธาตุ ตฺตก ปัจ. รัสสะ ส. ทตฺตก ทฺตฺตกปุตร.
ทพฺพสมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวมเครื่องใช้ต่างๆ (เพื่อก่อสร้าง), ทัพพสัมภาระ (เครื่องไม้ และสิ่งอื่นๆ ที่คุมกันเข้าเป็นเรือน เป็นต้น วัตถุสำหรับก่อสร้าง).
ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
ทาสโวฺยปคต : ค. ผู้เข้าถึงความเป็นทาส, ผู้ยอมตัวเป็นทาสเอง
ทุผสฺส : (ปุ.) ผัสสะหยาบ, อเนกคุณคัน อเนกคุณ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใช้ทำยาไทย มีขนและหนามเล็กตามกิ่งก้านและใบ ถูกเข้าจะคัน.
เทวปญฺห : นป. การอัญเชิญเทวดาเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงเจ้า
เทวูปปตฺติ : อิต. การเข้าถึงเทวโลก, เกิดในสวรรค์
เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.