หาร : (ปุ.) แก้วมุกดาที่ร้อยด้วยด้าย, สร้อยไข่มุก, สร้อยคอ, สายสร้อย. วิ. หรียเต มโน เยน โส หาโร. หรฺ หรเณ, โณ.
กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
ภตฺตาหาร : (ปุ.) อาหารคือข้าว, ข้าวและอาหาร, ภัตาหาร คือ อาหารต่างๆ ที่จัดไว้สำหรับถวายพระ.
อาหารช : (วิ.) เกิดแต่อาหาร วิ. อาหารสฺมา ชาโตติ อาหารโช. กฺวิ ปัจ. ใน อรรถชาต. อาหารสฺมา ชาโต อาหารโช. ปัญจมีตัป. แปลง ชาต เป็น ช.
อุปหาร : (ปุ.) การนำไปใกล้, การเคารพ, การนับถือ, การบูชา, เครื่องบูชา, อภิหาร (การนำไปเฉพาะคือการบูชา). อุปปุพฺโพ, หรฺ หรเณ ปูชายญฺจ, โณ. ส. อุปหาร.
กพลิงฺการาหาร : ป. อาหารที่เป็นก้อนได้แก่คำข้าว
เถยฺยาวหาร : (ปุ.) อวหารแห่งความเป็นขโมย, อวหาร คือความเป็นขโมย วิ. เถยฺยํ เอว อวหาโร เถยฺยาวหาโร.
ทพฺพสหาร : ป. การรวมวัตถุอันเป็นเนื้อหา, การรวบรวมอุปกรณ์อันเป็นเครื่องก่อสร้าง
ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
ธญฺญาหาร : (ปุ.) อาหารคือข้าว.
ธุรวิหาร : ป. วิหารที่ใกล้เคียง, วัดที่ใกล้เคียง
นิราหาร : ค. ไม่มีอาหาร, ปราศจากอาหาร, อดอาหาร
นีหาร : ป. การนำออก, การขับไล่; ลักษณะ, วิธี, อาการกิริยา
ปฏิสหาร : ป. ดู ปฏิสํหรณ
ปทวีติหาร : ป. การย่างก้าว, การก้าว
ปริหารปถ : ป. ถนนวงเวียน, ถนนวงกลม
ผสฺสาหาร : (ปุ.) อาหารคือผัสสะ.
ผาสุวิหารธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่สบาย, ธรรมเป็นที่อยู่สบาย.
ภารหาร : ป. ผู้แบกภาระ, ผู้นำไปซึ่งภาระ
ภิกฺขาหาร : ป. อาหารที่ได้มาจากการขอ
มุตฺตาหาร : (ปุ.) แก้วมุกดาหาร, สร้อยไข่มุก.
สพฺโพหาร : (ปุ.) การซื้อขาย, การซื้อขายด้วยเงินทอง. สํ+วิ+โอ+หรฺ ธาตุ ณ ปัจ.
สมาหาร : (ปุ.) การนำมารวม, การนำมารวมกัน, การรวบรวม. สํ อา ปุพฺโพ, หรฺ หรณ, โณ.
สหาร : ป. การตัดให้สั้นเข้า, การรวบรวม
หาริ : ค. งาม, ดี
หาริ หารี : (วิ.) งาม, งดงาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. วิ. หรติ จิตฺตนฺติ หาริ หารี วา. หรฺ หรเณ, อิณฺ, ณี วา. ส. หาริ.
หารี : (วิ.) ผู้ควารเพื่ออันนำไปซึ่งภาะระ วิ. ภารํ หริตุ ํ ยุตฺโตสีติ หารี. ณี ปัจ.
อชฺโฌหาร : (ปุ.) การกิน, การกลืนกิน. ณ ปัจ.
อณฺฑหาร อณฺฑหารก : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่ง อัณฑะ, คนผู้ทำหน้าที่ตอน, หมอตอน.
อนาหาร : ค. ไม่มีอาหาร
อภินีหาร : ป. ๑. การนำออก;
๒. ความปรารถนาที่ตั้งใจจริง
อภิหาร : (ปุ.) การนำไปยิ่ง, การเคราพ, การบูชาการเคราพบูชา.ความเคราพ, ฯลฯ, ความนับถือ.อภิปุพฺโพ, หรฺ อปนยเน, โณ.
อวิสาหาร : (ปุ.) ความไม่ส่าย, ความแน่วแน่.
อสมนฺนาหาร : ป. การไม่นำมารวมกัน, การที่จิตไม่เป็นสมาธิ
อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
อาหารโลลตา : อิต. ความละโมบในอาหาร
อุทการ อุทลาหน อุทหาร : (ปุ.) เมฆ. อุท+กรฺ+ณ ปัจ., อุท+อาหน ลฺ อาคม, อุท+หรฺ + ณ ปัจ.
อุทาหาร : ป. การเปล่ง, การสวด, การสาธยาย
อุปสหาร : ป. ดู อุปสํหรณ
อุปาหาร : ป. การนำเข้ามา, การเพิ่มเข้ามา
โอหาร : (วิ.) นำลง, ปลง, ปลงลง, ยกลง.
กตาภินิหาร : (วิ.) ผู้มีธรรมเป็นเครื่องนำออก ซึ่งคุณอันยิ่งอันทำแล้ว, ผู้มีอภินิหาร อัน ทำแล้ว, ผู้มีกฤษฎาภินิหาร, ผู้มี กฤดาภินิหาร.
กริสาปณ : (ปุ.) กหาปณะ วิ. รูปสฺส กรีเสน กโต สํโวหารปทตฺโพ กริสาปโณ นาม.
เกสาเกสิ : (อิต.) การรบอันจับที่เส้นผมที่เส้นผม เป็นไป วิ. เกเสสุ จ เกเสสุ จ คเหตฺวา อิทํ ยุทธํ ปวตฺตตีติ เกสาเกสิ. อี อิต. รัสสะ เป็น อิ? เป็น พยติหารลักขณพหุ พ. รูปฯ ๓๔๑.
โกลฏฺฐิปกฺขิ : (ปุ.) นกเขา, นกออก. วิ. โกลฏฺฐิ อชฺฌาหารโก ปกฺขิ โกลฏฺฐิปกฺขิ. เป็น โกลฏฺฐิปกฺขี บ้าง.
จตุทฺทิส : (ปุ. นปุ.) ทิศสี่. อสมาหารทิคุ และ สมาหารทิคุ.
เชตวน : (ปุ.) พระวิหารชื่อเชตวัน, พระวิหาร ชื่อว่า เชตวัน.
เชตวนโปกฺขรณีตีร : (นปุ.) ฝั่งแห่งสระโบก – ขรณีใกล้พระวิหารเชตวัน.
ผสฺสหาร : ป. ผัสสาหาร, อาหาร คือ ผัสสะ