ฉาต : (วิ.) อยาก, อยากข้าว, หิว, อ่อนเพลีย, อิดโรย. ขาทฺ ภกฺขเณ, โต, ขสฺส โฉ, ทฺโลโป. ฉา ขุทายํ วา, โต.
หว : (ปุ.) การเรียก, การร้องเรียก. หู อวฺหาเน, โณ. หฺว อวฺหาเน วา, อ. ส. หว.
ขุทา : อิต. ความหิว, ความอยาก
ขุทา ขุทฺทา : (อิต.) ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความหิว, การกิน. ขุทฺ ชิฆจฺ- ฉายํ, โท. ศัพท์ต้นลบที่สุดธาตุ. ขุทฺทา วุจฺจติ ฉาตโก. ไตร. ๓0/๓๗๑.
ขุทิต : ค. หิวแล้ว, อยากแล้ว
ขุธา : อิต. ความหิว, ความกระหาย
ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
ฉาตก :
๑. นป. ความหิว; ความอยาก, ความกระหาย ;
๒. ค. ดู ฉาต
ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
ฉาตชฺฌตฺต : (วิ.) อันความหิวเผาแล้ว, อัน ความหิวให้เหี้ยมเกรียมแล้ว.
ชปฺปา, ชปฺปนา : อิต. ความโลภ, ความอยากได้, ความหิว; การพูดเพื่อให้ได้มา
ชิคจฺฉา : อิต. ความอยาก, ความหิว, ความกระหาย
ชิคจฺฉา ชิฆจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาเพื่อ อันกิน, ความปรารถนาเพื่อจะกิน, ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความอยาก, ความหิว. วิ. ฆสิตุ มิจฉา ชิฆจฺฉา. ฆสฺ อทเน, โฉ, อิจฺฉตฺเถ โฉ. เทวภาวะ ฆ แปลง สฺ เป็น จฺ ศัพท์แรก แปลง ฆ เป็น ค รูปฯ ๕๘๓. ส. ชิฆตฺสา.
ชิฆจฺฉติ : ก. หิว, อยาก, ปรารถนาจะกิน
ชิฆจฺฉา : อิต. ความหิว, ความอยาก
ชิฆจฺฉาปรม : (วิ.) มีความหิวเป็นอย่างยอด.
ทิฆจฺฉา : อิต. ความหิว
นิจฺฉาต : ค. ไม่หิวกระหาย, ไม่อยาก, หมดอยาก, พอใจ
มหิจฺฉตา : อิต. ความหิวกระหาย, ความอยาก
อภิชิฆจฺฉติ : ก. หิว, กระหาย, อยาก
อยฺยก : (ปุ.) ตา, ปู่. อรหฺปูชายํ, ณฺวุ, รหสฺสโย(แปลงรหเป็นย). อยฺคติมฺหิวา. ซ้อน ยฺ.
หวิ : (นปุ.) การให้, การบูชา, ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู หพฺย ทาเน, อิ.
หเว : (อัพ. นิบาต) จริง, แท้, แน่แท้, โดยแท้. เอกัง สัตถวาจา. แล เป็น ปทปูรณะ, เว้ย, โว้ย.