ปญฺจาลิกา : อิต. ตุ๊กตา, หุ่น
โปตฺถนิกา : อิต. ตุ๊กตา, หุ่น
กฏลฺลก : นป. ตุ๊กตา, รูปหุ่น
ติณปุริสก : ป. รูปคนที่ทำด้วยหญ้า; หุ่นแพ้วนกแพ้วกา
ทารุยนฺต : (นปุ.) หุ่นอันบุคคลทำแล้วด้วยไม้, หุ่นไม้.
ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
อุนฺนฬ : (ปุ.) ความมีมานะดังว่าไม้อ้อสูง, ความเชิดตัว.
คทฺทุ (ทู) หน : นป. การรีดนม
อาโรหณ, - หน : นป. การขึ้น, การปีน
หนติ : ก. ฆ่า
กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
พาหน :
(นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
หณุ หนุ หนุกา : (อิต.) คาง. วิ. หนฺติ โอทนาทีสุ วณฺณวิเสสํ นาเสตีติ หณฺ หนุ วา. โภชนํ หนติ เอเตนาติ หณุ หนุ วา. หนฺ หึสายํ, อุ. อภิฯ. รูปฯ ๖๖๕ ลง ณุ, นุ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้นคง ณุ ไว้ ศัพท์ที่ ๓ ลง ก สกัด อา อิต. ส. หนุ.
อุทการ อุทลาหน อุทหาร : (ปุ.) เมฆ. อุท+กรฺ+ณ ปัจ., อุท+อาหน ลฺ อาคม, อุท+หรฺ + ณ ปัจ.
อุปาหน : (ปุ. นปุ.) เกือก, รองเท้า. วิ. ตํ ตํ ฐานํ อุปหนฺติ เอเตนาติ อุปาหโน. ตโต ตโต จ อุปหนฺติ เอเตนาติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อุปนยฺหเตติ วา อุปาหโน. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อ. ทีฆะและเปลี่ยนอักษร.
กฏฐวาหน : นป. พาหนะไม้ ; ชื่อเมืองเมืองหนึ่ง
กมฺมายูหน : นป. กองแห่งกรรม
กลหน : (นปุ.) วจนะเป็นที่โต้เถียง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
กุมฺภทูหน : นป. การรีดนมด้วยหม้อ, การรีดนมลงในภาชนะ
กุห กุหณ กุหน : (วิ.) หลอก, หลอกลวง, โกง. กุหฺ วิมฺหาปเน, อ, ยุ.
กูปามฺพุพฺพาหณ กูปามฺพุพฺพาหน : (นปุ.) วัตถุสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ, ถัง, ครุ. วิ. กูปโต อมฺพุโน อุพฺพาหณํ อุทฺธาหรณํ กูปามฺพุพฺพาหณํ.
คณฺหณ คณฺหน : (วิ.) ควรถือเอา, ควรเรียน, คหฺธาตุ ณฺหา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. ลบที่สุด ธาตุ.
ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
คาหน : นป. การดำลงไป, การโจนลงไป
คุหน : นป., คุหนา อิต. การซ่อน, การปกปิด, การรักษา; ความลับ
คูหน : นป., คูหนา อิต. การซ่อน, การกำบัง, การปกปิด
จกฺขุโมหน : นป. การเล่นกล
จิตฺตุปาหน : นป. รองเท้าอันวิจิตร, รองเท้ามีสีกาววาว
จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
จิหน : นป. เครื่องหมาย, รอยจุด
ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
ตุหน, ตุหิน : นป. น้ำค้าง
ทฺวารปิทหน : นป. การเปิดประตู
ทหนเตช : (ปุ. นปุ.) ไฟที่เผาผลาญ.
ทุหณ ทุหน : (นปุ.) ความเต็ม, ความยินดี. ทุหฺ ปปูรเณ, ยุ.
ทุหน : นป. การรีดนม
ทูหน : นป. การปล้น, การซุ่มทำร้าย, การบีบบังคับ; การรีดนม
ธุรวหน : นป. การนำแอกหรือภาระหน้าที่
นยฺหน : นป. การผูก, การมัด, การห่อ, การปิด
นรวาหณ นรวาหน : (ปุ.) นรวาหณะ นรวา- หนะ ชื่อของท้าวกุเวร ชื่อ ๑ ใน ๔ ชื่อ วิ. นโร วาหณ มสฺสาติ นรวาหโณ.
นรวาหน : ป. ท้าวกุเวร
นิคฺคหณ นิคฺคณฺหณ นิคคณฺหน : (นปุ.) การข่ม, ฯลฯ, ความข่ม, ฯลฯ.
นิคูหน : นป. การปกปิด, การซ่อน, การอำพราง, การแอบแฝง
นิคูหน นิคฺคูหน : (ปุ.) ต้นไทรวิ.อโธภาคํรุนฺธตีตินิโคฺรโธ.นิ+รุธฺ+ณปัจ.แปลงอุเป็นโอคฺอาคม.ต้นมะเดื่อก็แปล.
นิทหน : (นปุ.) อันเก็บไว้, การเก็บไว้. นิ+ธา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ธา เป็น ทห.
นิพฺพาหน : ๑. นป. การย้าย, ... เคลื่อนไป, ....นำออก, การชำระล้าง;
๒. ค. ซึ่งนำออก, ซึ่งเคลื่อนย้าย, อันทำให้ปลอดภัย