หุ หุกชาติก : (ปุ.) หุงหุกชาติกะ ชื่อพราหมญ์ตนหนึ่ง มักตวาดผู้อื่นว่า หึหึ.
ตทห, - หุ : นป. วันนั้น, วันเดียวกัน
หุสา : (อิต.) ลูกสะใภ้, หญิงสะใภ้. สุ สวเน, โส. แปลง สุ เป็น หุ อา อิต.
หุราหุร : (วิ.) ไป ๆ มา ๆ.
อาหาว : (ปุ.) ที่ดื่มน้ำของสัตว์, รางน้ำใกล้สระ. วิ. อาหูยนฺเต ปสโว อตฺร ปานาเยติ อาหาโว. อาปุพฺโพ, หุ หู วา สตฺนายํ, โณ.
อาหุติ อาหูติ : (อิต.) การให้, ทาน, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่นสรวง.. อาปุพฺโพ, หุ หู วา ทาเน หพฺยปฺปทาเน จ, ติ. ส. อาหุติ.
ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
อวหน : (นปุ.) การบูชา.อวปุพฺโพ, หุ ปูชายํ, ยุ.
อาหว : (ปุ.) การรบ, การสงคราม, สงคราม. อาปุพฺโพ, หุ สทฺเท, อ. ส. อาหว.
โอหาวิม : (วิ.) เกิดด้วยการบูชา วิ. อวหเนน นพฺพตฺตํ โอหาวิมํ. อวปุพฺโพ, หุ หวฺย- ปทาเน, ณิโม. แปลง อว เป็น โอ แปลง อุ ที่ หุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว รูปฯ ๖๔๕.
คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
นเหตุเย : (อัพ. นิบาต) เพื่อไม่ให้มี. นบทหน้า หุ ธาตุ ตุเย ปัจ. แปลง อุ เป็น เอ
สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
หาว : (ปุ.) การเยื้องกราย (การเดินอย่างมีท่างาม) เป็นกิริยาเสน่หาต่าง ๆ ของหญิง. วิ. หูยนฺเต ราคิโน อตฺราติ หาโว. หุ หวเน, โณ.
หุต : (นปุ.) เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, เครื่องบูชา. หุ หพฺยปฺปทาเน, โต. เชื้ออันบุคคลให้. หุ ทาเน.
หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
โหม : (ปุ.) ข้าวเทวดาอันบุคคลบวงสรวง วิ. หุยฺยเตติ โหโม. หุ หพฺยปฺปทาเน, โม, อุสฺโส. เครื่องบูชา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การสังเวย. วิ.หวนํ โหโม. ส. โหม.
อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
สทฺทคฺคห : ป. การจับเสียง ; หู
สวนา : (อิต.) การฟัง, ฯลฯ, หู, เสาวนา. อา อิต.
อาหวน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงนำมาบูชา, การบูชา. อาปุพฺโพ, หู หพฺยทาเน, ยุ. อาหวน.
กณฺณ : (ปุ.) อวัยวะเป็นเครื่องฟัง, หู. วิ. กณฺณติ เอเตนาติ กณฺโณ. กณฺณฺ สวเน, อ. ส. กรฺณ.
คูถก : นป. ขี้ (ตา, หู)
ตาฏ : (ปุ.) หู. ตฏฺ อุสฺสเย, โณ.
นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
สวน : (นปุ.) การฟัง, สัททชาตอันบุคคลฟัง, อวัยวะสำหรับฟัง, หู. วิ. สวนํ สวนํ. สูยตีติ วา สวนํ. สุณาติ เอเตนาติ วา สวนํ. สุ สวเน, ยุ. เป็น สวณ บ้าง.
หพฺย หวฺย : (นปุ.) ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู ทาเน, โ ณฺย.
หว : (ปุ.) การเรียก, การร้องเรียก. หู อวฺหาเน, โณ. หฺว อวฺหาเน วา, อ. ส. หว.
หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
หวิ : (นปุ.) การให้, การบูชา, ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู หพฺย ทาเน, อิ.
หูติ : (อิต.) การเรียก. หู อว.หาเน, ติ.
เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
กณฺณคูถ : นป., กณฺณคูถก ป. ขี้หู
กณฺณคูถ กณฺณคูถก : (ปุ.) ขี้หู. ส. กรฺณมูล.
กณฺณ (จฺ) ฉิทฺท : นป. ช่องหู, รูหู
กณฺณ (จฺ) ฉินฺน : ค. คนหูแหว่ง, คนหูขาด
กณฺณจาลน : นป. การกระดิกหู
กณฺณจูฬา : อิต. โคนหู, หมวกหู
กณฺณเฉท : ป. การตัดหู, การฉีกหู
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กณฺณปตฺต : นป. ใบหู
กณฺณปิฏฐี : อิต. ส่วนบนของใบหู, หลังหู
กณฺณปุจฺฉ : นป. หางหรือชายหู
กณฺณปูร : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณพิล : นป. ช่องหู
กณฺณภูสา : (อิต.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณเภท : (ปุ.) การเจาะหู.
กณฺณเภทน : (นปุ.) การเจาะหู.
กณฺณมล : นป. ขี้หู