สทฺทคฺคห : ป. การจับเสียง ; หู
สวนา : (อิต.) การฟัง, ฯลฯ, หู, เสาวนา. อา อิต.
อาหาว : (ปุ.) ที่ดื่มน้ำของสัตว์, รางน้ำใกล้สระ. วิ. อาหูยนฺเต ปสโว อตฺร ปานาเยติ อาหาโว. อาปุพฺโพ, หุ หู วา สตฺนายํ, โณ.
อาหุติ อาหูติ : (อิต.) การให้, ทาน, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่นสรวง.. อาปุพฺโพ, หุ หู วา ทาเน หพฺยปฺปทาเน จ, ติ. ส. อาหุติ.
ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
อาหวน : (นปุ.) วัตถุอัน...พึงนำมาบูชา, การบูชา. อาปุพฺโพ, หู หพฺยทาเน, ยุ. อาหวน.
กณฺณ : (ปุ.) อวัยวะเป็นเครื่องฟัง, หู. วิ. กณฺณติ เอเตนาติ กณฺโณ. กณฺณฺ สวเน, อ. ส. กรฺณ.
คูถก : นป. ขี้ (ตา, หู)
ตาฏ : (ปุ.) หู. ตฏฺ อุสฺสเย, โณ.
นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
สวน : (นปุ.) การฟัง, สัททชาตอันบุคคลฟัง, อวัยวะสำหรับฟัง, หู. วิ. สวนํ สวนํ. สูยตีติ วา สวนํ. สุณาติ เอเตนาติ วา สวนํ. สุ สวเน, ยุ. เป็น สวณ บ้าง.
หพฺย หวฺย : (นปุ.) ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู ทาเน, โ ณฺย.
หว : (ปุ.) การเรียก, การร้องเรียก. หู อวฺหาเน, โณ. หฺว อวฺหาเน วา, อ. ส. หว.
หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
หวิ : (นปุ.) การให้, การบูชา, ข้าวเพื่อเทวดาอันบุคคลบวงสรวง, เครื่องบูชาเทพ, เครื่องสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. หู หพฺย ทาเน, อิ.
หูติ : (อิต.) การเรียก. หู อว.หาเน, ติ.
เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
กณฺณคูถ : นป., กณฺณคูถก ป. ขี้หู
กณฺณคูถ กณฺณคูถก : (ปุ.) ขี้หู. ส. กรฺณมูล.
กณฺณ (จฺ) ฉิทฺท : นป. ช่องหู, รูหู
กณฺณ (จฺ) ฉินฺน : ค. คนหูแหว่ง, คนหูขาด
กณฺณจาลน : นป. การกระดิกหู
กณฺณจูฬา : อิต. โคนหู, หมวกหู
กณฺณเฉท : ป. การตัดหู, การฉีกหู
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กณฺณปตฺต : นป. ใบหู
กณฺณปิฏฐี : อิต. ส่วนบนของใบหู, หลังหู
กณฺณปุจฺฉ : นป. หางหรือชายหู
กณฺณปูร : (ปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณพิล : นป. ช่องหู
กณฺณภูสา : (อิต.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณเภท : (ปุ.) การเจาะหู.
กณฺณเภทน : (นปุ.) การเจาะหู.
กณฺณมล : นป. ขี้หู
กณฺณมลหรณี : (อิต.) ไม้แคะหู.
กณฺณมูล : นป. โคนหู, กกหู
กณฺณโรค : (ปุ.) โรคเกิดที่หู, โรคหู.
กณฺณวลฺลิ : อิต. ใบหู
กณฺณวิภูสน กณฺณเวฐน : (นปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กณฺณเวฐน : นป. เครื่องประดับหู, ตุ้มหู
กณฺณสกฺขลิ, - ลิกา : อิต. ส่วนนอกของหู, หมวกหู
กณฺณสนฺโธวิก : ป. การล้างหู, การทำความสะอาดหู
กณฺณสุข : (วิ.) เพราะหู, ไพเราะหู, สบายหู, เสนาะหู, สะดวกแก่หู, สะดวกหู.
กณฺณสูล : นป. ความเจ็บปวดหู, สิ่งที่ไม่ไพเราะหู
กณฺณโสต : นป. ช่องหู, รูหู
กณฺณิก : ป., กณฺณิกา อิต. คนถือท้าย; เครื่องประดับหู, ช่อฟ้า; ยอด; ฝักบัว
กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
กณฺเณชป : (ปุ.) คนพูดกระซิบที่หู, คนส่อ เสียด. กณฺเณ+ชป เป็น อลุตตสมาส.
กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.