โอวรก : (ปุ.) ห้อง, ห้องน้อย, ห้องไว้อาหาร, โรงครัว, ห้องครัว. อวฺ รกฺขเณ, อโร,สกตฺเถ โก, อสฺโสตฺตํ.
โกฏฐ : ๑. ป., นป. กระเพาะ, ลำไส้, ท้อง; ยุ้ง, ฉาง, ห้องเก็บของ, กุฏิพระ; ช่อง, โพรง, ห้อง;
๒. นป. ต้นโกฐ;
๓. ป. นกเปล้า
ปากฏฺฐาน : นป. สถานที่หุงต้ม, ครัว
ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
อวกาส, โอกาส : ป. โอกาส, ช่องทาง, ห้อง
มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
กจฺฉนฺตร : (นปุ.) ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ.
กณฺโฑลิกา : อิต. กระเช้าหวาย, กระจาด, ห้องเก็บของ
กปฺปียกุฏิ : (อิต.) โรงที่เก็บของอันสมควรแก่ สมณะ, กัปปิยกุฎี (โรงครัวของพระ).
กุฏี : อิต. กระท่อม, ห้องเล็ก, เพิง
โกฏฐก : นป. ซุ้ม, ป้อม, ที่หลบซ่อน, ห้องเก็บของ, ยุ้ง, ฉาง
คพฺภทฺวาร : นป. ประตูห้อง
คพฺภสหสฺสปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับแล้วด้วย พันแห่งห้อง.
เคหชน : ป. เคหชน, คนที่อยู่ในบ้าน, สมาชิกในครัวเรือน
จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
จิตฺตาคาร จิตฺราคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันสวย งาม, ห้องภาพ.
เจติยคพฺภ : ป. ห้องแห่งเจดีย์, ห้องเจดีย์, บริเวณภายในองค์เจดีย์
ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
ทีปคพฺภก : นป. ห้องพัก
ธาราเคห : (นปุ.) เรือนมีท่อน้ำ, ห้องสำหรับอาบน้ำ, ห้องอาบน้ำมีผักบัว.
นาฬิกาคพฺภ : ป. ห้องยาว
ปทุมคพฺภ : ป. ห้องแห่งดอกบัว, ช่องภายในกลีบของดอกบัว; กลีบบัว
ปาจิกา : อิต. แม่ครัว
ปิฏฺฐิโกฏฺฐก : นป. ห้องชั้นบน
โปตฺถกคพฺภ : (ปุ.) ห้องสมุด.
โปลินฺท : (ปุ.?) ห้องท้ายเรือ.
ภณฺฑคพฺภ : (ปุ.) ห้องเป็นที่เก็บไว้ซึ่งภัณฑะ, ห้องเก็บของ.
ภตฺตการ : ป. คนทำอาหาร, พ่อครัว
ภตฺตการ ภตฺตการก : (ปุ.) คนหุงข้าว, พ่อครัว. วิ. ภตฺตํ กโรติ กริสฺสติ อกาสีติ ภตฺตกาโร ภตฺตการโก วา. ศัพท์หลัง ก สกัด.
โภชนคพฺภ : (ปุ.) ห้องอาหาร.
มชฺเฌคพฺภ : (วิ.) มีห้องในท่ามกลาง.
รนฺธก : ป. คนครัว, คนหุงต้ม
รสก : ป. พ่อครัว
รสวตี : อิต. โรงครัว
วาสาคาร : ป., นป. ห้องอยู่, ห้องนอน
สนฺธิกณฺณ : (ปุ.) มุมแห่งห้อง.
สยนิคฺคห : (นปุ.) ห้องอยู่, ห้องนอน, เรือนเป็นที่นอน. วิ. สยติ เอตฺถาติ สยนี. สาเอว คหํ สยนิคฺคหํ.
สยนิฆร : นป. ห้องนอน
สลากคฺค : นป. ห้องจ่ายสลาก
สุทฺที : (อิต.) หญิงแม่ครัว, แม่ครัว.
สุทฺธนฺต : (ปุ.) ที่อยู่สำหรับฝ่ายใน, ราชวังชั้นใน, ห้องพระมเหสี. วิ. สุทฺธา กามาปคมตฺตา ปริสุทฺธา รกฺขกา อนฺเต สมีเป อสฺเสติ สุทฺธนฺโต.
สูท : (ปุ.) คนผู้หลั่งออกซึ่งรส, คนผู้ยังรสให้หลั่งออก. สุ ปคฺฆรเรณ, โท, ทีโฆ. อถวา, สุทฺ สูทฺ วา ปคฺฆรเณ, อ. คนผู้ยังขาทนียะ และโภชนียะให้สุก, คนผู้ยังอาหารให้สุก, คนครัว, พ่อครัว. สุ. พฺยนฺตีกรเณ, โท.
สูทก : (ปุ.) คนครัว, พ่อครัว. วิ. สูเทตีติ สูทโก. สูทฺ ปคฺฆรเณ, ณฺวุ. วา สูโร. สุ ปสเว, โร. สูรฺ วิกฺกนฺติยํ, วา, อ. รูปฯ ๖๖๔ สุ หึสายํ, อูโร. ส. สูร.
สูปการ : ป. ผู้ทำแกง, พ่อครัว
สูปิก : ป. พ่อครัว
เสท : (ปุ.) เหงื่อ, เหื่อ (ภาษาเก่า), ไคล(เหงื่อที่ปนกับฝุ่นละอองติดกรังอยู่กับหนังกำพร้า). วิ. เสตีติ เสโท. เส ปาเก, โต, ตสฺส โท. พ่อครัว ก็แปล.
อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
อนฺโตคพฺภ : ป. ห้องใน, ภายในห้อง
อาราลิก, - ลิกา : อิต. คนครัว
อาฬาริก : (ปุ.) ช่างทำขนม, คนครัว, พ่อครัว. วิ. อฬาโร นาม สูปาทิวิกติ, ตํ กโรตีติ อาฬาริโก. อิก ปัจ. ส. อาราลิก.