วิลมฺพติ : ก. เชือนแช, ชักช้า, ห้อย, แขวน
อาลมฺพติ : ก. แขวน, หน่วงไว้, ยึด, ห้อย, เกาะเกี่ยว
อุพฺพนฺธติ : ก. แขวน, ห้อย
ทาย : (ปุ.) ป่า, หมู่ไม้, กอหญ้า, ทา อวขณฺฑนเฉทเนสุ. ทยฺ ทานคติหึสาสุ วา, โณ. แปลง อา เป็น อาย ถ้าตั้ง ทยฺ ธาตุ ก็ฑีฆะ.
กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
กณฺณธาร : (ปุ.) คนที่อยู่มุมเรือ (ตอนหนึ่งของเรือ), คนถือท้ายเรือ, นายท้าย, นายเรือ. กณฺณปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, โณ.
กณฺณิก : ป., กณฺณิกา อิต. คนถือท้าย; เครื่องประดับหู, ช่อฟ้า; ยอด; ฝักบัว
เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
จริยาปิฏก : นป. คัมภีร์จริยาปิฎก, ชื่อของคัมภีร์สุดท้ายในขุททกนิกาย
ฉมณฺฑ : (ปุ.) ลูกกำพร้า (ไร้พ่อไร้แม่ ). ฉฑฺฑฺ ฉฑฺฑเน, อ. แปลง ฑฺ ตัวสังโยคเป็น ทฺ แล้วแปลง ทฺ เป็น ม แปลง ฑ ตัวท้ายเป็น ท แล้วแปลงเป็น ณฺฑ.
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ตปนีย : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. วิ. ตปนํ ทาห ทหรตีติ ตปนียํ. ตปนศัพท์ อนีย ปัจ. ลบ น ท้ายศัพท์.
ตมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง). ตมฺ กํขายํ, ณฺวุ. ลง พ อักษรท้ายธาตุ รูปฯ ๕๙๘.
ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
- ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
ทณฺฑกมธุ : นป. รวงผึ้งพร้อมทั้งคอน, รวงผึ้งที่ห้อยติดอยู่กับกิ่งไม้
ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ;
๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
ทาสพฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบ่าว, ฯลฯ. วิ. ทาสสฺส ภาโว ทาสพฺยํ พฺย ปัจ. หรือ ณฺย ปัจ. วุ อาคมท้ายศัพท์.
ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
ทีปกสิขร : (ปุ. นปุ.) หัวแหลมแห่งเกาะ,ปลายแห่งเกาะ,ท้ายเกาะ.
นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
นาลิเกร นาฬิเกร : (ปุ.) มะพร้าว, กัจฯ และ รูปฯ ลง เณร ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง อิร ปัจ. และ ก ท้ายศัพท์ วิ. นาฬิ วิย ชายตีติ นาฬิเกโร. ส. นาริเกร, นาริเกล.
นิมฺพ : (ปุ.) สะเดา วิ. นมติ ผลภาเรนาติ นิมฺโพ, นมุ นมเน, โพ. แปลง อ ที่ น เป็น อิ หรือตั้ง นิ นเย. ลง มฺ อาคมท้ายธาตุ. ชายคา, แง้มประตู ก็แปล.
นิยติ : (อิต.) โชคดีโชคร้าย, เคราะห์กรรม. วิ. สุภาสุภผลํ เนตีติ นิยติ. นิ ปาปุณเน, ติ. และ อ อาคมท้ายธาตุ.
นิยามก : (ปุ.) คนขับรถ, คนถือท้ายเรือ, นาย ท้าย, นายท้ายเรือ, ต้นหน, ฝีพาย (คน พายเรือ). วิ. นิยจฺฉติ โปตมิติ นิยามโก. นิปุพฺโพ คมเน, ยมุ อุปรเม, ณวุ.
นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
ปุฏส : ค. มีถุงหรือย่ามห้อยอยู่บนบ่า
โปตวาห : (ปุ.) ต้นหน, นายท้าย. โปตปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณ โณ. แปลว่า ลูกเรือ กลาสี ฝีพาย ด้วย.
โปลินฺท : (ปุ.?) ห้องท้ายเรือ.
ลมฺพ : ค. ห้อย, แขวน
ลมฺพก : นป. ของที่ห้อยหรือแขวน
ลมฺพติ : ก. ห้อย, แขวน
ลมฺเพติ : ก. ให้ห้อย, ให้แขวน
วิลมฺพน : นป. การเชือนแช, การห้อย, การแขวน
สชฺชติ : ก. ห้อย, ติด
อชฺโฌลมฺพติ : ก. ห้อย, แขวน
อชฺโฌสติ : ก. ห้อย, ยึด, ปรารถนา
อชฺโฌสาย : ค. ซึ่งผูกติด, ซึ่งห้อย
อธิกรสุทิน : (นปุ.) อธิกสุรทิน.คือวันที่เพิ่มขึ้นทางสุริยคติอีก ๑ วันท้ายเดือนกุมภาพันธ์ปีนั้นเดือนกุมภาพันธ์จึงมี ๒๙ วัน
อธิกวาร : (ปุ.) วันเกิน, วันที่เพิ่มเข้ามา, อธิกวารคือวันที่เพิ่มเข้ามาทางจันทรคติอีก ๑ วันท้ายเดือน ๗ ปีนั้นเดือน ๗ จึงมี๓๐ วัน.
อนุชีวี : (ปุ.) ข้าเฝ้า, คนผู้ติดสอยห้อยตาม, คนใช้.วิ.ปภุโนปจฺฉาชีวตีติอนุชีวี.อนุ-ปุพฺโพ, ชีวฺปาณธารเณ, ณี.ส.อนุชีวินฺ.
อภิปฺปลมฺพติ : ก. ห้อยลง, หย่อนลง
อภิลมฺพติ : ก. ห้อยย้อย, ห้อยลง
อลมฺพ : ค. ไม่ห้อยย้อย, ไม่ยึดหน่วงไว้, ไม่ชักช้า
อวลมฺพติ : ก. ห้อยย้อย, ยึดหน่วง
อวลมฺพน : นป. การห้อยย้อย, การยึดหน่วง
อาลมฺพณอาลมฺพน : (นปุ.) อารมณ์.วิ.จิตฺตเจตสิกาเอตฺถอาคนฺตฺวาลมฺพนฺตีติอาลมฺพณํอาลมฺพนํ วา, ยุปัจ. ส. อาลมฺพนการอาศรัยอยู่, การห้อยอยู่.
อาลมฺพน : นป. อารมณ์, การยึดอารมณ์, การแขวน, การห้อย