Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ห้า , then หา, ห้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ห้า, 468 found, display 1-50
  1. หา : (อัพ. นิบาต) โอ้, อ้า, เหนื่อย, ลำบาก, เป็นทุกข์, แห้งใจ. เขทัตถวาจกนิบาต.
  2. ปญฺจ : ค. ห้า
  3. ปญฺจโครส : ป. โครส (นมโค) ห้า (นมสด, นมส้ม, เนยใส, เนยข้น, เปรียง)
  4. ปญฺจมหาปริจฺจาค : ป. การเสียสละอย่างใหญ่ห้า (สมบัติ, ลูก, เมีย, อวัยวะ, ชีวิต)
  5. ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
  6. กถาวตฺถุ : นป. เรื่องที่นำมาสนทนา, ชื่อของคัมภีร์เล่มที่ห้า ของอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์
  7. กามคุณิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยกามคุณห้า
  8. ขนฺธปญฺจก : (นปุ.) หมวดห้าแห่งขันธ์.
  9. ขุทฺทกนิกาย : ป. ขุททกนิกาย, ชื่อคัมภีร์หมวดที่ห้าแห่งสุตตันตปิฎก
  10. คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
  11. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  12. จตุปญฺจนาฬิมตฺต : (วิ.) มีทะนานสี่และ ทะนานห้าเป็นประมาณ เป็น ฉ.ตุล. มี อ. ทิคุ,อ.ทิคุ. และ อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  13. จตุปญฺญาส, - ปณฺณาส : ค. ห้าสิบสี่
  14. จิตฺต : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยฤกษ์จิตตา, เดือน จิตตะ, เดือนห้า. วิ. จิตฺตาย ยุตฺโต มาโส จิตฺโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  15. จิตฺตมาส จิตฺรมาส : (ปุ.) เดือนจิตตมาส, เดือน เดือนจิตรมาส, เดือนห้า, เดือนเมษายน, เมษายน.
  16. ฉปฺปญจวาจา : (อิต.) วาจาหกหรือห้า, วาจาห้า หรือหก, คำพูดห้าหกคำ. วิ ฉ วา ปญฺจ วา วาจา ฉปฺปญฺจวาจา. เป็น ปฐมาวิภัตต – ยันตพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  17. ฉปฺปญฺญาส : ค. ห้าสิบหก
  18. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  19. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  20. เตปญฺญาส, - ติ : ค. ห้าสิบสาม
  21. ทฺวาปญฺญาส : (ไตรลิงค์) ห้าสิบสอง. ทฺวิ+ปญฺญาส แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๙๗.
  22. ทฺวิปญฺญาส, - สติ : ค. ห้าสิบสอง
  23. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  24. ทิยฑฺฒสหสฺสปริจาริกา : (อิต.) นางบำเรอมี พันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณ, นางบำเรอหนึ่งพันห้าร้อยนาง.
  25. ธนุปญฺจสต : (นปุ.) ร้อยห้าแห่งธนู, ห้าร้อย ชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนูเป็น ๑ โกสะ. วิ. อาโรปิตานํ อาจริยธนูนํ ปญฺจสตํ ธนุปญฺจสตํ. วิ. นี้เฉพาะคำแปลหลัง. ธนุปญฺจสตํ โกโส นาม.
  26. นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
  27. นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
  28. ปกฺขพิลาล : ป. นกเค้าแมว, ค้างความแม่ไก่ (ค้างคาวใหญ่ บางตัวมีช่วงปีกกว้างถึงห้าฟุต)
  29. ปญฺจก : ค. หมวดห้า
  30. ปญฺจกฺขตฺตุ : อ. ห้าครั้ง
  31. ปญฺจกลฺยาณี : อิต. หญิงมีความงามห้าประการ (ผมงาม, ผิวงาม, ฟันงาม, เนื้องาม, วัยงาม)
  32. ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
  33. ปญฺจขนฺธ : ป. ขันธ์ห้า (รูป, เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ)
  34. ปญฺจงฺคิก : ค. มีส่วนห้า
  35. ปญฺจงฺคุลิก : ค. ประกอบด้วยนิ้วทั้งห้า
  36. ปญฺจทสี : อิต. ดิถีที่สิบห้า, วันเพ็ญ
  37. ปญฺจธา : อ. โดยส่วนห้า
  38. ปญฺจนที : อิต. แม่น้ำห้าสาย (คงคา, ยมุนา, อจิรวดี, สรภู, มหี)
  39. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  40. ปญฺจพนฺธน : นป. การจองจำห้าประการ (คอ ๑, มือ ๒, เท้า ๒)
  41. ปญฺจม : ค. ที่ห้า
  42. ปญฺจวคฺคิย : ค. มีพวกห้า หมายถึงภิกษุห้ารูปเหล่านี้คือ อัญญาโกณฑัญญะ, วัปปะ, ภัททิยะ, มหานามะ, อัสสชิ
  43. ปญฺจวณฺณ : ค. มีห้าสี (น้ำเงิน, เหลือง, แดง, ขาว, น้ำตาล)
  44. ปญฺจวิธ : ค. ห้าอย่าง
  45. ปญฺจวีสติ : ค. ยี่สิบห้า
  46. ปญฺจสฏฺฐี : ค. หกสิบห้า
  47. ปญฺจสหสฺส : นป. ห้าพัน
  48. ปญฺจสิข : ค. ห้าแหยม, คนธรรพ์
  49. ปญฺจสีล : นป. ศีลห้า
  50. ปญฺจโส : อ. โดยส่วนห้า
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-468

(0.0661 sec)