ห : (ปุ.) อาวุธ อุ. อินฺทห อาวุธของพระอินทร์.
ห ห : (อัพ. นิบาต) แล.
หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
หสติ :
ก. ดู หสติ, ชูชัน(ผม, ขน)
หสิต : (นปุ.) การหัวเราะ, ฯลฯ, วิ. หสนํ หสิตํ. ต ปัจ. อิ อาคม. ส. หสิต.
หตนฺตราย : (วิ.) ผู้มีอันตรายอันขจัดแล้ว.
หตลาภสกฺการ : (วิ.) มีลาภและสักการะเสื่อมแล้ว.
หตาวกาส : ค. ผู้ทำลายโอกาส
หยานีก : นป. ทหารม้า, กองทัพม้า
หรติ : (อิต.) ทิศตะวันออกเฉียงใต้, ทิศหรดี. ส. ไนรฺฤต.
หรีตก : นป. สมอไทย
หเรณุกา : (อิต.) ต้นหนาด, ถั่วแระ.
หส : (ปุ.) หงส์, ห่าน. วิ. หนฺติ อทฺธานนฺติ หํโส. หนฺ คติยํ, โส, นิคฺคหิตาคโม. ส. หัสํ.
หสติ : ก. หัวเราะ, ยินดี, รื่นเริง
หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
หสปาท : (วิ.) มีสีคล้ายเท้าหงส์ คือแดงปนเหลือง แดงเรื่อ หรือสีแดง ก็ว่า.
หสวตีนคร : (นปุ.) นครหงสวดี พระนครหงสาวี ชื่อเมืองหลวงของชาติมอณ.
ห โห : (อัพ. นิบาต) โอ แสดงการเชื้อเชิญร้อยเรียก.
ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
อุปคุยฺห : (ปุ.) ราชพาหนะหลวง. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ยปจฺจโย, ยกฺปจฺจโย วา. เปลี่ยน ย ไว้หน้า ห.
มาตามห : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่) วิ. มาตุ ปิตา มาตามโห. อามห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฺฑ์ ๓๘.
สุขาวห : (วิ.) นำมาซึ่งความสุข, ฯลฯ. สุข+อาวห.
กมฺมารห : ค. อันควรแก่กรรม, ผู้ควรแก่กรรม
กากคุยฺห : นป., ค. ที่กาซ่อนอยู่ได้, รังกา
กาลหส กาฬหส : (ปุ.) หงส์ดำ, นกทิ้งทูด, นกเค้าโมง, นกกลิง, นกกาน้ำ.
คุยฺห : (วิ.) ลับ, ซ่อน, ซ่อนเล้น, ปกปิด.
คุยฺหปุริส : ป. สปาย, ผู้สืบความลับ, สายลับ, สายสืบ
คุยฺหเมถุน : ป. อีกา
จตุห, - ตูห : นป. สี่วัน
จริมฺห : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.
จุลหสมหาหสกกฺกฏหชาตก : (นปุ.) ชาดกอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยหงส์น้อยและหงส์ ใหญ่และปู.
ฉนฺทารห : ค. อันควรแก่การพอใจ
ชิมฺหตา : อิต. ความคดโกง, ความไม่ซื่อ
ตถา หิ : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นแล, เพราะเหตุ นั้น, จริงอย่างนั้น.
ตทห, - หุ : นป. วันนั้น, วันเดียวกัน
ติณฺห : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, แข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน, โห, วณฺณวิกาโร.
ถูปารห : ค. ผู้ควรแก่สถูป, ผู้สมควรแก่การที่ประชาชนจะสร้างสถูปไว้บูชา
ถูปารหปุคคล : (ปุ.) บุคคลผู้ควรแก่สถูป, บุคคล ที่ควรนำอัฐิบรรจุสถูป. บุคคลที่ ควรนำอัฐิมาบรรจุสถูป มี ๔ ประเภท คือ พระพุทธเจ้า ๑ พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑ พระอรหันตสาวก ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ ๑.
ทุยฺหติ : ก. (อันเขา) รีด (นม)
นนฺทิชห : ป. การละความเพลิดเพลิน, สละความสนุกสนาน
ปฏิพาฬฺห : ค. ซึ่งถูกบีบคั้น, ซึ่งถูกบังคับ, อันถูกข่มขู่, อันบำบัด
ปฏิสหรติ : ก. ถอยกลับ, เคลื่อนออก, ถอดออก, นำออกไป, พับ, เก็บ, รวบรวม
ปฏิหรติ : ก. นำกลับ, กลับคืน; บอก, แจ้งให้ทราบ
ปฏิหสติ : ก. กระทบ, ทุบ, ตี, ต่อย
ปพาฬฺห : ๑. กิต. (อันเขา) ชักออก, ดึงออก, มาแล้ว;
๒. ค. (อาการเจ็บปวดหรือป่วย) แรง, หนัก, เพียบหนัก
ปริหรติ : ก. นำไป, บริหาร
ปริหสติ : ก. หัวเราะ, เย้ยหยัน
ปรูหติ : ก. งอก
ปวาฬฺห : ค. ซึ่งนำไป, ซึ่งไล่ไป, ซึ่งลากไป, ซึ่งนำออก