Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: , then , .

ETipitaka Pali-Thai Dict : , 223 found, display 1-50
  1. ตมฺพจูล () : ป. ไก่
  2. อุนฺนล () : ค. ทะลึ่ง, อวดดี, ถือตัว, วางปึ่ง
  3. ภินฺทิวาล ภินฺทิวา : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวา ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น .
  4. จกฺกวาล จกฺกวา : (ปุ.) ปริมณฑล, จักรวาล, จักรวา. ปัจจุบัน ไทยใช้แต่คำจักรวาล น่าจะคงคำจักรวาไว้ด้วย.
  5. อนฺตราล, อนฺตรา : นป. ภายในระหว่าง, ระหว่างการหยุดพัก
  6. อวิรล, อวิร : ค. ไม่บาง, ไม่ห่าง, ไม่มีช่อง
  7. ทสสหสฺสจกฺกวาเทวตา : (อิต.) เทวดาในจักรวามีพันสิบหนเป็นประมาณ (เทวดา ในหมื่นจักรวาล) มี วิ. ดังนี้. – ส. ทิคุ. ทส สหสฺสานิ ทสสหสฺสํ. ฉ. ตุล. ทสสหสส ปมาณ เยส ตานิ ทสสหสฺสปมาณานิ (จกฺกวาานิ). ส. ตัป. ทสสหสฺสจกฺกวาเสุ เทวตา ทลสหสฺสจกฺกวาเทวตา.
  8. สีหล สีห : (ปุ.) สีหล สีห ชื่อชนบทพิเศษ ของอินเดีย คือประเทศสีหล ประเทศลังกา ปัจจุบันคือประเทศศรีลังกา. วิ. สีหํ ลนฺติ กณฺหนฺตีติ สีหลา. ปุพฺพปุริสา สีหลา, ตพฺพํเส ชาตา สพฺเพปิ เอตรหิ สีหลา นาม.
  9. สีหทีป สีหทีปก : (ปุ.) ทวีสีห, สีหทวีป.
  10. กเลวร กเลว กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
  11. โกฏฐิกา, - : อิต. ฉางข้าว
  12. โกตฺถลี, : อิต. ดู โกฏฐิกา
  13. ครุ : ป. ครุฑ, นกกระไน, นกหัวขวาน
  14. ฆรโคลิ (ิ) กา : อิต. จิ้งจก, ตุ๊กแก, ตุ๊ดตู่
  15. จกฺกวามุขวฏฺฏิ : (อิต.) ขอบแห่งปากแห่ง จักรวา.
  16. ภินฺทิวา : ป. หอก
  17. อคลุ (ุ) : ป. ดู อครุ
  18. อาลิ, - : ๑. อิต. เขื่อน, ทำนบ; ปลาชนิดหนึ่ง; เพื่อนหญิง ; ๒. ป. แมลงป่อง
  19. จุล จุลฺล จุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, ละเอียด, ป่น. จฺุ เปรเณ, อ. ศัพท์แรก แปลง เป็น ล ศัพท์ที่สอง แปลง ล เป็น ลฺล หรือ จิ จเย, อุโล, อิสฺสุ.
  20. กพล กพ : (ปุ.) คำข้าว วิ. เกน โตเยน พล มสฺสาติ กพโล. อถวา, กุ สทฺเท, อโล. กพิ วณฺเณ วา. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น . เป็น นปุ. ก็มี.
  21. ขลก ขลุงฺก ขุงฺก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้า เขยก. วิ. ขรํ คจฺฉตีติ ขลํโค จลุงฺโค ขุงฺโค วา. โส เอว ขลํโก, ฯลฯ. คการสฺส กกาโร, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น . เป็น ขลํค, ฯลฯ และเป็น ขลุก, ฯลฯ. บ้าง.
  22. คุล คุ : (ปุ.) น้ำอ้อย, น้ำอ้อยงบ, น้ำตาล, น้ำตาลงบ, ลูกกลมๆ, ก้อน, ก้อนข้าว, ช่อ, พวง, มัด กลุ่ม, ขลุบ, (ลูกคลีสำหรับแข่ง ขันกัน) เป็น คุลบก็มี. คฺุ รกฺขเณ, อ. คุ สทฺเท วา, โ. ศัพท์ต้น แปลง เป็น ล โมคฯ ลง ฺก ปัจ.
  23. โจล โจ : (นปุ.) ผ้า, แผ่นผ้า, ท่อนผ้า, จิลฺ วสเน, โณ, อิสฺโส. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น . อถวา, จุ จวเน, โล, โ. ส. ไจล, โจล.
  24. ฉลายตน ฉายตน : (นปุ.) อายตนะหก. ฉ+ อายตน ลฺ อาคม ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น .
  25. ภิญฺญา : (อิต.) อภิญญาหก. ฉ+อภิญฺญา ลฺ อาคม แปลง ล เป็น .
  26. : (วิ.) เขลา, โง่, โง่เขลา, โง่เง่า (โง่มาก), เงอะงะ, เซอะซะ. ชลฺ อปวารเณ, อ. แปลง ล เป็น .
  27. ตาลีส ตาีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปล ว่าสี่สิบ ( ทส นี้สำเร็จรูปมาจากสมาสแล้ว) เป็นจตฺตาร ลบ จต เหลือ ตาร แปลง ร เป็น ล ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ลงโย วิภัตติ แปลง โย เป็น อีส รูปฯ ๒๕๔, ๑๕๖ และ ๓๙๗.
  28. ทมิ : (วิ.) ดุ, ร้าย, ดุร้าย. ทุ หึสายํ, อิโล. ลง นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุแปลง นา เป็น มา อุ เป็น อ ล เป็น .
  29. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสา : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น .
  30. พล : (ปุ.) ไม้ค้อน. พลปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ. แปลง ล เป็น .
  31. มิฺห มีฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
  32. มุลาล มุาล : (ปุ. นปุ.) รากเหง้า. วิ. มูเลชายตีติ มุลาโล มุาโล วา. มูล+อล ปัจ. รัสสะ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อโล, รสฺโส. มีลฺนิมีลเน วา, อโล. แปลง อี เป็น อุ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น .
  33. ยุคล : (นปุ.) คู่. ยุชฺ โยเค, อโล. หรือตั้ง วิ. ยุ เค อลนฺติ ยุคลํ. แปลง ล เป็น เป็น ยุค บ้าง.
  34. อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลฺุ มนฺถเน, อิ. แปลง เป็น ล ก สกัด.
  35. อาินฺท : (ปุ.) ดู อาลินฺท. แปลง ล เป็น .
  36. อุลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, ระลอกใหญ่, ลูกคลื่น, คลื่นใหญ่, ความปั่นป่วน, ความไม่ราบ คาบ. อุปุพฺโพ, ลฺุ มนฺถเน, อ ซ้อน ลฺ แปลง เป็น ล. ส. อุลฺโลล.
  37. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น .
  38. เกทาร : (นปุ.) ทุ่ง, นา, นาดอน, ลาน, สนาม. วิ. กฺลทียตีติ เกทารํ กฺลิทฺ กฺลทฺ วา อลฺลภาเว, อาโร, ลฺโลโป. เก ชเล ลสติ ทาโร วิทารณ มสฺสาติ วา เกทารํ. เก ปฐวิยํ ทายกสฺสทานํ เอตฺถาติ วา เกทารํ. เก+ทาน ลบ น แปลง เป็น ร เป็น อลุตตสมาส.
  39. จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, . รูปฯ ๓๙๗.
  40. ฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โ. แปลง พ เป็น ท เอา ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฎีกาอภิฯ ลง ฺ อาคม เอา ฺ ไว้หน้า ห.
  41. อคลู : (ปุ.) กฤษณา, กฤษณาสามัญ, ไม้กฤษณา. ลหุนามกตฺตาอครุ. แปลง ร เป็น ล, . ศัพท์หลังทีฆะ.
  42. คาฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น . บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฺห ลบที่สุดธาตุ.
  43. ฉวฑาหก ฉวาหก : (ปุ.) สัปเหร่อ (คนผู้ทำ หน้าที่เกี่ยวกับศพ คนผู้ทำหน้าที่เผาศพ) ฉวปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ณฺวุ, ทสฺส โฑ. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น .
  44. เตรส เต : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น . รูปฯ ๓๙๖.
  45. โทห : (ปุ.) ฉันทะนี้แห่งบุคคลผู้มีหทัยสอง, ฉันทะอันเป็นการทำแห่งบุคคลผู้มีหทัย สอง, ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, การอยาก, การแพ้ท้อง, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. โทหปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ตฺตํ ทฺวิปุพฺโพ วา, หลฺ กมฺปเน, อ, ทฺวิสฺสโท, ลสฺส โ. ทุฏฐ หทย เมเตนาติ วา โทหโ. ทุฏฐสฺส โท, ทหยสฺสหโ เทฺว หทยา อสฺส ปรมตฺถสฺสาติ วา โทหโ. ทวิสฺส โท, หทยสฺส หโ. หรือแปลง ทฺวิ เป็น โท แปลง ท เป็น ลบ ย. ทุธา หทยํ เอตีติ โทหโ. ฎีกาอภิฯ วิ. โทหํ ลาตีติ โทหโ. ส. โทหล.
  46. พาฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโ. แปร ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  47. มฺุห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โ. กลับอักษร เอา ไว้หน้า ห.
  48. โสรสโส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ . โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  49. อุุก อุุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็น เป็น อุลุงฺก อุูก บ้าง.
  50. อชฺโฌคาฺห : (ปุ.) การหยั่งลง.อธิโอ ปุพฺโพ, คาหุวิโลเน, โต. ธาตุมีหเป็นที่สุด แปลงต เป็น หแปลงที่สุดธาตุเป็นลแปลง ล เป็น รูป ฯ ๖๐๕หรือลง ปัจ.แล้วเปลี่ยนอักษรหรือแปลงต ปัจ. เป็น ฺหแล้วลบที่สุดธาตุตามบาลีไวยากรณ์.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-223

(0.0319 sec)