Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์การแก้ว, องค์การ, แก้ว , then กว, แก้ว, องค์การ, องคการกว, องค์การแก้ว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์การแก้ว, 127 found, display 1-50
  1. ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
  2. กพรมณิ : (ปุ. อิต.) แก้วลาย, เพชรตาแมว, แก้วตาแมว. วิ. กพโร สพโฬ มณิ กรพมณิ.
  3. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  4. กาจภณฺฑ : (นปุ.) เครื่องแก้ว.
  5. กาจมย : ค. ทำด้วยแก้ว, สำเร็จด้วยแก้ว
  6. กุนฏิ : อิต. หินแก้วสีแดง; เม็ดผักชี
  7. กุมารีรตน : (นปุ.) รตนะคือนาง, นางแก้ว.
  8. กุลิส : (ปุ. นปุ.) กุลิสะ ชื่ออาวุธพระอินทร์, ขวานฟ้า, แก้ววิเชียร. วิ. กุลิมฺหิ สกฺกสฺส หตฺเถ เสติ ติฏฺฐตีติ กุลิสํ. กุลิปุพฺโพ, สิ คติยํ, อ. กลียตีติ วา กุลิสํ. กลฺ สํวรเณ, อิโส, อสฺสุ.
  9. ขฏขาทก : ป. ถ้วยแก้ว; สุนัขจิ้งจอก; กา
  10. คนฺธเสล : (ปุ.) แก้วหอม.
  11. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  12. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  13. จกฺกรตน : นป. จักรรัตน, รัตนคือจักร, จักรแก้ว (ของพระเจ้าจักรพรรดิ)
  14. จนฺทกนฺต : ป. แก้วชนิดหนึ่งชื่อว่า จันทกันต์; ไม้จันทน์; บัวขาว
  15. จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
  16. จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
  17. จินฺตามณิ : ป. จินดามณี, แก้วสารพัดนึก
  18. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  19. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  20. ชาติมณิ : ป. แก้วมณีที่มีค่าล้ำ, แก้วมณีมีค่ามาก
  21. ฐปิตมณิรตน : (นปุ.) แก้วคือแก้วมณีอันบุคคล ตั้งไว้.
  22. ตารามณิวิตาน : นป. เพดานที่ประดับด้วยดาวซึ่งทำด้วยแก้ว
  23. ทาฐาธาตุ : อิต. พระเขี้ยวแก้ว (ของพระพุทธเจ้า)
  24. ทูภก : นป. แก้วมณีชนิดหนึ่ง
  25. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  26. นวรตน : (นปุ.) แก้วเก้าอย่าง, แก้วเก้าชนิด, แก้วเก้าประการ, นพรัตน์, เนาวรัตน์. แก้วเก้าอย่าง คือ เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย และ ไพฑูรย์. ส. นวรตฺน.
  27. นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
  28. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  29. นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
  30. นีลมณิ : ป. แก้วสีคราม
  31. ปทุมราค : (ปุ.) ทับทิม, แก้วทับทิม, พลอยสี แดง, ปัทมราคะ, ปัทมราช. วิ. ปทุมญฺจาตฺร โกกนทํ, ตพฺพณฺณสทิโส มณิ ปทุมราโค. ฎีกาอภิฯ
  32. ปิยงฺค : ป., อิต. ข้าวฟ่าง; ประยงค์, (ต้นไม้ชนิดหนึ่งใบคล้ายใบแก้วใช้ทำยาให้อาเจียน)
  33. ผลิก : (ปุ.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
  34. ผลิกภาชน : (นปุ.) แก้วน้ำ.
  35. ผลิกา : (อิต.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
  36. มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
  37. มณิกฺขนฺธ : ป. แท่งแก้วมณี, กองแก้วมณี
  38. มณิการ : (ปุ.) ช่างเจียระไนแก้ว, ช่างเจียระไนเพชรพลอย, ช่างแก้ว.
  39. มณิกุณฺฑล : นป. ต่างหูเพชร, ต่างหูแก้วมณี
  40. มณิปลฺลงฺก : ป. บัลลังก์แก้วมณี
  41. มณิมย : ป. ทำด้วยแก้วมณี
  42. มณิเมขลา : (อิต.) สายรัดเอวทำด้วยแก้ว, สะอิ้ง (สายรัดเอว), สายสะอิ้ง, สังวาล, สร้อยสังวาล, มณีเมขลา.
  43. มณิรตน : (นปุ.) แก้วคือแก้วมณี, แก้วเพชร.
  44. มณิวณฺณ : ค. มีสีเหมือนแก้วมณี
  45. มณิเวธ : (ปุ.) เครื่องมือเจียระ ไนแก้ว, เครื่องเจียระไนแก้ว, เพชร (เจาะแก้ว).
  46. มรกฏ มรกต : (ปุ.) มรกฏ, มรกต, แก้วมรกฏ, แก้วมรกต (แก้วสีเขียว แก้วสีเขียวใบไม้).
  47. มสารคลฺล : (นปุ.) แก้วลาย, แก้วตาแมว, เพชรตาแมว, แก้วที่เกิดในภูเขาชื่อ มสาระ. วิ. มสารคิริมฺหึ ชาตํ มสารคลฺลํ. ล ปัจ. แปลง ริ เป็น ลิ ลบ อิ. ไตร. ๓๐ ข้อ ๗๖๒ เป็น ปุ.
  48. มสูร : (ปุ.) ข้าวเปลือกวิเสส, เบาะ, แก้วมณี, ถั่วราชา. มสฺ อามสเน, อูโร. รูปฯ ๖๔๔.
  49. มสูรก : (ปุ.) เบาะ, แก้วมณี, แก้วมรกต.
  50. มุตฺตา : (อิต.) มุกดา, แก้วมุกดา, ไข่มุก, มุจฺ โมจเน, โต, จสฺส โต.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-127

(0.0598 sec)