Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์ประกอบ, ประกอบ, องค์ , then ประกอบ, องค, องค์, องค์ประกอบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์ประกอบ, 370 found, display 1-50
  1. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  2. จตุรงคสนฺนิบาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่. การประชุมประกอบด้วยองค์สี่.
  3. ฉฬงฺค : ค. ซึ่งประกอบด้วยองค์หก, มีหกส่วน
  4. ทุวงฺคิก : ค. ซึ่งมีองค์สอง, ซึ่งมีองค์ประกอบสองอย่าง
  5. ปธานิยงฺค : นป. องค์แห่งพระภิกษุผู้ควรประกอบความเพียร, คุณสมบัติของผู้ที่จะทำความเพียร
  6. อฏฺฐงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยองค์แปด. อัฏฐังคิกมรรค, อัษฏางคิกมรรค.
  7. อฏฺฐงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยองค์แปด.อัฏฐังคิกมรรค, อัษฏางคิกมรรค.
  8. อนุวฺยญฺชน : นป. อนุพยัญชนะ, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบของร่างกาย
  9. โยเชติ : ประกอบ, ผูก, มัด, ตระเตรียม
  10. คนฺถติ, คนฺเถติ : ก. ผูก, มัด, รัด, ถัก, ประกอบ, แต่ง
  11. นิยุชฺชติ : ก. เหมาะ, ควร; ประกอบ; สำเร็จ, เป็นผล
  12. นิยุญฺชติ : ก. ขวนขวาย, ประกอบ, ทำให้เหมาะสม
  13. ปฏิสยุชติ : ก. เกี่ยวข้อง, เกี่ยวกับ, ประกอบ, เริ่ม
  14. พนฺธติ : ก. ผูก, พัน, มัด, รัด, ประกอบ, จับไว้จองจำ
  15. รจยติ : ก. ตกแต่ง, ประกอบ, ตระเตรียม
  16. สมฺภาร : (ปุ.) การรวบรวม, การสะสม, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การเลี้ยงดู, ความรวบรวม, ฯลฯ, ความพร้อมมูล, ความมากหลาย, องค์เครื่องเต็มพร้อม, องค์, อุปกรณ์, เครื่องอุปกรณ์, เครื่องปรุง, วัตถุ, ของ, ข้าวของ, สิ่งของ, สิ่งของต่างๆ, เครื่องใช้, ของใช้, ทรัพย์, สมบัติ, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, ความดีอันสะสมไว้, บุญที่สะสมไว้, สมภาร. สํปุพฺโพ, ภรฺ ธารณโปสเนสุ. โณ. ส. สมฺภาร.
  17. สโยเชติ : ก. ผูกติดกัน, ประกอบ
  18. อนุสหคต : ค. สหรคต, ประกอบ
  19. อายูหติ : ก. พยายาม, เพียร, สั่งสม, พอกพูน, ประกอบ, กระทำ
  20. อุปยุญฺชติ : ก. เกี่ยวข้อง, ประกอบ, ประพฤติ, ปฏิบัติ
  21. กฬุส : (นปุ.) ความชั่ว, ฯลฯ. ดู กลุส ประกอบ.
  22. กเฬวร : (นปุ.) กาย, ฯลฯ. ดู กเลวร ประกอบ.
  23. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  24. ติวุตา : (อิต.) จิงจ้อ, จิงจ้อหลวง. วิ. ติสฺโส วุตา ตาราชิโย ยสฺสา สา ติวุตา. เป็น ปุ. ก็มี ดู ติปุฏา ประกอบ.
  25. ตุฏฺฐมานส : (วิ.) ผู้มีใจยินดีแล้ว, ผู้มีฉันทะ มีในใจยินดีแล้ว. ดู มานส ประกอบ.
  26. ทายี : (วิ.) ผู้ให้โดยปกติ, ผู้มีปกติให้, ทา ทา เน, ณี. ผู้ถือเอาโดยปกติ, ผู้มีปกติถือเอา. ทา อาทาเน, ณี. แปลง อา เป็น อาย. ผู้ควรเพื่ออันให้ วิ. ทาตุ ยุตฺโตติ ทายี. ดู ธมฺมจารี ประกอบ.
  27. ธุรวาทหี : (ปุ.) สัตว์ผู้นำไปซึ่งแอก, ฯลฯ, สัตว์ผู้นำไปซึ่งของหนัก, ฯลฯ, โคใช้งาน, วัว, ควาย, ดู ธมฺมจารี ประกอบ. ธุร+วหฺ+ ณี ปัจ.
  28. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  29. นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
  30. นิริย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ฯลฯ. นิ+อย รฺ และ อิ อาคม ดู นิรย ประกอบ.
  31. ปทีเปยฺย : (นปุ.) วัตถุอันเป็นอุปกรณ์แก่ ประทีป, วัตถุเป็นเครื่องเกื้อกูลแก่ประทีป, เครื่องประทีป. เครื่องคือของ สิ่งของ สิ่ง ประกอบ หรือของ ที่เข้ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. วิ. ปทีปสฺส หีตํ ปทีเปยฺยํ. เอยฺย ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ.
  32. ปนฺนรส : (ไตรลิงค์ ) สิบห้า แปลง ปญฺจ เป็น ปนฺน. ดู ปณฺณรส ประกอบ.
  33. ปรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. ฎีกาอภิฯ ว่าเป็น นปุ. ดู ผรสุ ประกอบ.
  34. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  35. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  36. สารท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครันคร้าม, ไม่มีฝีมือ. ดู สรท ประกอบ.
  37. สุหชฺช : (วิ.) มีใจดี, สุนฺทร+หทย+ณฺย ปัจ. สกัด ดู หชฺช ประกอบ.
  38. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  39. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  40. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  41. จตุรงฺค : (วิ.) มีองค์สี่, จตุรงค์, จัตุรงค์, จตุ + องฺค รฺ อาคม.
  42. กฏุล : ค. ประกอบด้วยสารเผ็ดร้อน, ปรุงด้วยของเผ็ดร้อน
  43. กณฺฏกีผล : (ปุ.) ต้นไม้มีผลประกอบด้วย หนาม, ต้นไม้มีผลมีผิวคล้ายหนาม, ขนุน, ต้นขนุน. วิ. กณฺฏกยุตฺตํ ผลํ อสฺส อตถิติ กณฺฏกีผโล. อีอาคม.
  44. กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ; ๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
  45. กตฺติก กตฺติกมาส : (ปุ.) เดือนอันประกอบ ด้วยดาวฤกษ์ชื่อกัตติกา, เดือนกัตติกา, เดือน ๑๒, เดือนพฤศจิกายน.
  46. กตสุกต : ค. ถูกสร้างขึ้นมาดี, ประกอบขึ้นดี
  47. กตาวี : ค. ผู้ทำ, ผู้ประกอบ
  48. กมฺมการก : (ปุ.) กรรมการ ชื่อคนที่ทำการงาน ชื่อบทที่ประกอบด้วยทุติยาวิภัติ. ส. กรฺมการก.
  49. กมฺมนฺติก : ค. ผู้ประกอบด้วยการงาน, ผู้เป็นกรรมกร
  50. กรณการก : (ปุ.) กรณการก ชื่อของบทนาม นามที่ประกอบด้วยตติยาวิภัติ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-370

(0.0693 sec)