อฏฺฐ : (วิ.) ตั้งอยู่ไม่ได้, นปุพฺโพ.ฐา คตินิวุตติยํ, อ, ฏฺสํโยโค.
อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
อฏฺฐิ , อฏฺฐิก : นป. ๑. กระดูก,
๒. เมล็ดในผลไม้,
๓. หิน
อิฏฺฐ : (นปุ.) ความพอใจ, ฯลฯ, อิฏฐารมณ์.
อิฏฺฐ : ๑. นป., ความอยาก, ความชอบใจ, ความสวยงาม, อารมณ์ที่น่าชอบใจ;
๒. ค. ยินดี, พอใจ, น่ารัก, น่าใคร่, สวยงาม
อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
เอฏฐิ : อิต. ความอยาก, ตัณหา, การแสวงหา
โอฏฐ : ป. ๑. ริมฝีปาก;
๒. อูฐ
โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
ทิสาคช : (ปุ.) ช้างผู้รักษาทิศ, ช้างประจำทิศ. วิ. เอราวณทโย อฏฺฐ คชา ปุพฺพาทีนํ ทิสานํ รกฺขณโต ทิสาคชา นาม.
เมธิย เมธิฏฺฐ : (วิ.) ผู้มีปัญญากว่า, ผู้มีปัญญาที่สุด. เมธิมนฺตุ+อิย, อิฏฺฐ ปัจ.
อฏฺฐก : (ปุ.) ประชุมแห่งชนแปด, ประชุม แห่งวัตถุแปด. วิ. อฏฺฐนฺนํ สมูโห อฏฺฐ โก. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
อฏฺฐก : (วิ.) แปด.กสกัด, มีปริมาณแปดวิ. อฏฺฐ ปริมาณานิ อสฺสาติ อฏฺฐกํ.กปัจสังขยาตัท.
อิฏฺฐคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นอัน...พีงใจแล้ว, มีกลิ่น... อันพีงใจ, ฯลฯ. วิ. อิฏฺโฐ คนฺโธ อสฺสาตฺถีติ อิฏฺฐคนฺโธ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
โอฏฐา : อิต. หม้อดิน
อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปด เป็นประมาณ. อสมาหารทิคุ. กัม. อฏฺฐา รส โกฏิโย อฏฺฐารสโกฏิโย. ฉ. ตุล. อฏฺฐารสโกฏิโย ปมาณานิ ยสฺส ตํ อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ (ธนํ) วิเสสนบุพ. กัม. อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ ธนํ อฏฺฐารสโกฎธินํ. เป็นมัชเฌโลบ.