Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อด , then อด, อต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อด, 63 found, display 1-50
  1. อุปวาส : (ปุ.) การเข้าไปอยู่ วิ. อุปวสนํ อุปวาโส. การอยู่เว้น (อด) อาหาร (ตั้งแต่ หลังเที่ยงไป) คือการจำศีล (รักษาศีล). วิ. อนฺเนน วชฺชิดโต วาโส อุปวาโส. ส. อุปวาส.
  2. ขนฺติ : (อิต.) ความทน, ความอดทน, ความอดกลั้น. วิ. ขมนํ ขนฺติ. ขมฺ สหเน, ติ, ติสฺส นฺติ, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. แปลว่า ความควร ความชอบ, ความชอบใจบ้าง.
  3. ขนฺติ, - ขนฺตี : อิต. ความอดทน, ความอดกลั้น
  4. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  5. ขม ขมน : (วิ.) ทน, อดทน, อดอกลั้น. ขมฺ สหเน, อ, ยุ.
  6. ขมติ : ก. อดทน, อดกลั้น, ข่มใจได้, อภัยให้
  7. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  8. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  9. ฉินฺนภตฺต : ค. ผู้ไม่มีอาหาร, ผู้ขาดอาหาร, ผู้อดอาหาร
  10. ชทฺธุ : นป. การกินอาหาร, (ใช้ในคำว่า อชทฺธุ - การไม่กินอาหาร, - อดอาหาร, รูปคุณนาม คือ อชทฺธุก - ผู้อดอาหาร)
  11. ติช : (นปุ.?) ความอดทน, ความอดกลั้น, ตุชฺ สหเณ อ, อุสฺส อิตฺตํ. ทีโฆ จ.
  12. ติติกฺขติ : ก. อดทน, อดกลั้น
  13. ติติกฺขวนฺตุ : (วิ.) อดทน, อดกลั้น, ทนทาน.
  14. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  15. นิราหาร : ค. ไม่มีอาหาร, ปราศจากอาหาร, อดอาหาร
  16. ปฏิกฺขมาปิต : กิต. (อันเขา) ให้อดโทษ, ตอบแล้ว, ให้ขอโทษแล้ว
  17. ปฏินิชฺฌายติ : ก. อดโทษ, ยกโทษให้, หายโกรธ
  18. ปรามส : ป. การถูกต้อง, การจับต้อง, การลูบคลำ, การจับฉวย, การยึดมั่น, การกอดรัด, สิ่งสัมผัสอันเป็นภัย, โรคติดต่อ
  19. ปริสฺสชน : นป. การเกี่ยวข้อง, การกอดรัด
  20. ผคฺคุ : ป. สมัยอดอาหาร
  21. มริสน : (นปุ.) การทน, การอดทน, การอดกลั้น, การทนทาน, ความทน, ฯลฯ. มริสุสหเณ, ยุ. มริสฺ ติติกฺขายํ วา.
  22. เมลก : (ปุ.) การกอดรัด, การเกี่ยวข้อง, การคุ้นเคย, การกอดรัก, ฯลฯ, ความรัก, ความเยื่อใย, หมู่, ประชุม. มิลฺ สิเนหเน, โณ, สตฺเถ โก.
  23. เมลน : (นปุ.) การกอดรัด, ฯลฯ, การรวมกัน, การร่วมกัน, ความกอดรัด, ฯลฯ, ยุ ปัจ.
  24. สชน : นป. การกอด, การรวม; ญาติ
  25. สหณ สหน : (วิ.) อดทน, อดกลั้น.
  26. สหติ : ก. อดกลั้น, อดทน
  27. สหน : นป. การอดกลั้น
  28. สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  29. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  30. อธวาสน : นป. การยอมรับ, ความอดกลั้น, ความอดทน
  31. อธิวาสก : ค. อดกลั้น, อดทน
  32. อธิวาสน : (นปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับพร้อม, การรับนิมนต์, การยับยั้ง, ความยับยั้ง, ความอดทน, ความอดกลั้น.ยุปัจ.
  33. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  34. อธิวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ทับ, ผู้ยับยั้ง, ผู้อดกลั้น, สิง-สถิต.
  35. อนสน : นป. การอดอาหาร, การไม่ได้กินอาหาร
  36. อนาสก : ค. ผู้อดอาหาร
  37. อนาสกตฺต : นป. ความเป็นผู้อดอาหาร
  38. อวิสหนฺต : ค. ไม่อดทน, ไม่อดกลั้น
  39. อสทน : ปน., ค. ความไม่อดทน, ความไม่อดกลั้น ; ไม่มีความเพียร
  40. อสยฺห : ค. ไม่สามารถทนได้, ไม่พึงอดกลั้นได้
  41. อุปกาส : (ปุ.) การกล่าวโทษ, การอดข้าว, จำศีล.
  42. อุสฺสาห : (ปุ.) ความเพียร, ฯลฯ, ความอาจหาญ, ความงอกขึ้น, ความกล้าขึ้น, ความอดกลั้น, อุสสาหะ, อุสาหะ, อุตสาหะ. วิ. อุ ทุกฺข ลาภํ สหตีติ อุสสาโห. อุปุพฺโพ, สหฺ สหเณ, โณ, อุกาโร ทุกฺขลาเภ. ส. อุตฺสาห.
  43. อตถาชาติก : (วิ.) มีกำเนิดไม่เหมือนกัน
  44. อตสี : อิต. ฝ้าย
  45. อติ : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง, จัด, แล.
  46. อโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั่น, เอต+โตปัจ. แปลง เอต เป็น อแต่...นี้, แต่นี้.อิม+โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อเพราะเหตุนั้นก็แปล.
  47. อิต : (วิ.) ประกอบ, เล่าเรียน, ร่ำเรียน, อ่าน, ท่อง, ศึกษา. อิ อชฺฌายเน, โต.
  48. อิติ : (กิริยาอาขยาด) ย่อมเป็นไป. อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  49. อิติ อว : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
  50. อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  51. [1-50] | 51-63

(0.0192 sec)