Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อตฺต , then อตต, อตฺต, อตฺตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อตฺต, 84 found, display 1-50
  1. อตฺต : (วิ.) ซัด, พุ่ง, ยิ่ง. อสุ เขปเน, โต.
  2. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  3. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  4. อตฺตคุตฺต : ค. ผู้คุ้มครองตน, ผู้มีตนอันคุ้มครองแล้ว
  5. อตฺตคุตฺติ : อิต. การรักษาตน, การระวังตน
  6. อตฺตทนฺต : ค. ผู้ฝึกฝนตนเองแล้ว
  7. อตฺตทีป : ค. พึ่งตนเอง, เชื่อตนเอง
  8. อตฺตโนปท : (นปุ.) บทเพื่อตน. ฉ. ตัป.
  9. อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
  10. อตฺตปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะตน, การมีตัวตน
  11. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  12. อตฺตวาท : ป. วาทะว่ามีตน, ทฤษฎีว่าด้วยเรื่องวิญญาณ
  13. อตฺตวาทุปาทาน : (วิ.) ผู้ถือมั่นในวาทะว่ามีตัวตน.
  14. อตฺตวินิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือวิเศษซึ่งตน, การยังตนให้ตกไป, การทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย.
  15. อตฺตวินิปาตกมฺม : (นปุ.) การยังตนให้ตกไปโดยไม่เหลือวิเศษกรรมคือการทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย, อัตวินิบาตกรรม.
  16. อตฺตสมฺภว : (วิ.) มีตนเป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิดพร้อมแห่งตน, อันเกิดในตน.
  17. อตฺตสมฺภูต : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วในตน, เกิดขึ้นในตน, เกิดในตน.
  18. อตฺตหิต : (นปุ.) ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน, ประโยชน์ของตน, อัตหิตะ (ประโยชน์ส่วนตัว).
  19. อตฺตหิตา : (อิต.) ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน, ประโยชน์ของตน, อัตหิตะ (ประโยชน์ส่วนตัว).
  20. อตฺตเหตุ : (วิ.) มีตนเป็นเหตุ.
  21. กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
  22. สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
  23. อลมตฺต : (วิ.) สามารถ, อลํศัพท์ ลง อตฺต สกัด.
  24. ปรมตฺต : (ปุ.) ตนอย่างยิ่ง. ปรม+อตฺต.
  25. ภาวิตตฺต : (วิ.) ผู้มีตนอันให้เจริญแล้ว, ผู้มีตนอัน อบรมแล้ว. ภาวิต+อตฺต.
  26. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  27. อนตฺต : (วิ.) มีตนหามิได้, ไม่มีตน, ไม่มีตัวตน, มิใช่ตน, มิใช่ตัวตน, บังคับมิได้, บังคับไม่ได้, อนัตตา (ไม่อยู่ในอำนาจของเรา ไม่มีเจ้าของที่แท้จริง).น+อตฺต.
  28. อตฺตตฺถ อตฺตทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์ของตน, ประโยชน์ตน.อตฺต+อตฺถศัพท์หลังลงทฺ อาคม.
  29. อตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้ว (ปีติโสมนสฺเสน คหิตมโน), ยินดี, ดีใจ, ปลื้มใจ, พอใจ, เพลิน, เพลิดเพลิน.อตฺต –สำเร็จรูปมาจาก อาปุพฺโพ, ทา อา ทาเน, โต.รัสสะ อา เป็น อ ลบ อา ที่ ทา เหลือเป็น ทฺแปลง ทฺ เป็นตฺ.
  30. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  31. กย : (ปุ.) การซื้อ วิ. ก ยนํ กโย. กี ทพฺพวินิมเย, อ. กโย นาม ปรสฺส ธนํ คเหตฺวา อตฺตโน ธนสฺส ทานํ. การถือเอาสมบัติของคนอื่นแล้วให้ซึ่งทรัพย์ของตน ชื่อว่า การซื้อ.
  32. การณ : (นปุ.) เหตุ, มูล, เค้า, มูลเค้า, วิ. กโรติ ผลนฺติ การณํ. อตฺตโน ผลํ กโรตีติ วา การณํ. กรฺ กรเณ, ยุ. ส. การณ.
  33. กุลาล : (ปุ.) ช่างหม้อ วิ. กุ ลลยตีติ กุลาโล. กุปุพฺโพ, ลลฺ อิจฺฉายํ, โณ. กุลติ อตฺตโน สิปฺปํ ปตฺถรตีติ วา กุลาโล. กุลฺ สนฺตาเน, อาโล. ส. กุลาล.
  34. โกกิล : (ปุ.) นกกระเหว่า, นกกาเหว่า, นก ดุเหว่า. วิ. กุกติ อตฺตโน นาเทน สตฺตนํ คณฺหาตีติ โกกิโล. กุกฺ อาทาเน, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส.โกกิล.
  35. โกลิต : (ปุ.) โกลิตะ ชื่อเดิมของพระโมคคัล- ลานะ วิ. กุเล ชายตีติ โกลิโก. โส เอว โกลิโต. อตฺตโน คุณํ กูลตีติ วา โกลิโต. กุลฺ ปตฺถรเณ, อิโต.
  36. จนฺท : (ปุ.) จันทะ ชื่อเทพบุตร, พระจันทร์, ดวงจันทร์, เดือน, ดวงเดือน, วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมฺปตฺติยา อตฺตโน ปภาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺโต สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺโท. อถวา, จนฺทติ ทิปฺปติ สิริยาวิโรจตีติ จนฺโท. จทิ หิฬาทนทิตฺตีสุ, โท, นิคฺคหิตาค- โม, ทโลโป. อัฏฐกถาว่ามาจาก ฉนฺทศัพท์ วิ. ฉนฺทํ ชเนตีติ จนฺโท แปลง ฉ เป็น จ. รูปฯ๖๕๗ ลง ก ปัจ. ลบ ก. ส. จนฺท จนฺทฺร.
  37. ตชฺชารี : (อิต.) ตัชชารี ชื่อมาตรา นับเท่ากับ ๓๖ อณู. วิ. อณโว ฉตฺตึส ตชฺชารี นาม. ตํ ตํ อตฺตโน นิสฺสยํ มลินกรณวเสน ชราเปตีติ ตชฺชารี ชรฺ วโยหานิมฺหิ. ณี.
  38. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  39. ทิฏฺฐธมฺม : (ปุ.) สิ่งอันตนเห็นแล้ว, สิ่งอัน...เห็นแล้ว, ทิฏฐธรรม. คำ ทิฏฐธรรม มีความหมายดังนี้ ความเป็นไปในปัจจุบัน, โลกนี้, ภพนี้, ชาตินี้, ปัจจุบัน; ปัจจุบัน ชาติ, ปัจจุบันภพ. วิ. ทิฏฺโฐ ธมฺโม ทิฏฺฐธมฺโม. ทิฏฺฐธมฺโม นาม ปจฺจกฺข- อตฺตภาโว.
  40. ธาติ : (วิ.) ผู้ทรงไว้ วิ. อตฺตโน สภาวํ ธาเรตีติ ธาติ. ธารฺ+ติ ลบ รฺ.
  41. นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
  42. นิพนฺธน : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. นิสฺเสเสน อตฺตโน ผลํ พนฺธติ ปวตฺเตตีติ นิพนฺธนํ. นิปุพฺโพ, พธฺ พนฺธ พนฺธเน, ยุ. ส. นิพนฺธน.
  43. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  44. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  45. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  46. มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
  47. มชฺชาร : (ปุ.) แมว วิ. ลีหเณน อตฺตโน สรีรํ มชฺชติ นิมฺ-มลตฺตํ กโรตีติ มํชฺชาโร. มชฺ สุทฺธิยํ, อโร, นิคฺคหิ-ตาคโม. มชฺชฺ สุทฺธิยํ, อา-โร.
  48. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  49. เมรุ : (ปุ.) เมรุ ชื่อภูเขากลางจักรวาล, ภูเขา เมรุ. วิ. มิณาติ สพฺเพ ปณฺณเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนาติ เมรุ. มิ หึสายํ, รุ. มินาติ รํสีหิ อนฺธการนฺติ วา เมรุ. ภูเขาเมรุ ภูเขาสุเมรุ เป็นภูเขาลูกเดียวกัน.
  50. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  51. [1-50] | 51-84

(0.0208 sec)