อนตฺตลกฺขณสุตฺต : (นปุ.) อนัตลักขณะสูตรชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระเบญจวรรคึย์.
อนตฺตมน : (วิ.) ผู้มีใจอันปิติและโสมนัสถือเอาแล้วหามิได้, น้อยใจ, ไม่พอใจ.
อนตฺตลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นอนัตตา.
อนฺต : (วิ.) เลว, ทราม, ต่ำ, ต่ำช้า, ลามก, หลัง, สุด, สุดท้าย.ส.อนฺต.
อนฺโต : (อัพ. นิบาต) ในภายใน, ภายใน, ระหว่าง.
อนีติ : (วิ.) ไม่มีจัญไร, มิใช่จัญไร, ไม่จัญไร, ไม่ใช่จัญไร.
โอนต : กิต. ก้มลงแล้ว, เอนลงแล้ว
โอนีต : กิต. นำออกแล้ว, เอาออกแล้ว, นำไปแล้ว
โอเนติ : ก. นำไปปราศ, นำออกไป
กมฺมนฺต : (ปุ.) การงาน. กมฺม ศัพท์ อนฺต สกัด.
ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
จาตุรนฺต : (ปุ.) เจ้าแห่งทิศสี่, เจ้าแห่งทิศทั้งสี่. จตุ + อนฺต รฺอาคม.
ชนฺตา : (อิต.) เรือนไฟ วิ. ชลติ เอตฺถาติ ชนฺตา. ชลฺ ทิตฺติยํ, อนฺโต, ลฺโลโป.
ชีวนี ชีวนฺตี : (อิต.) เทียนเยาวพาณี วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชีวนี ชีวนฺตี วา. ชีวฺ+ยุ, อนฺต ปัจ. อี อิต.
ทนฺต : (ปุ.) ฟัน, งา, งาช้าง. วิ. ทายติ ภกฺข มเนนาติ ทนฺโต. ทา อวทารเณ, อนฺโต, รสฺโส. ส. ทนฺต,
ทมยันฺตี : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. ชายา ศัพท์ อนฺต สกัด ยฺ อาคม อี อิต. แปลงชายาเป็น ทํ แปลงนิคคหิต เป็น ม.
ทิฏฺฐนฺต : (ปุ.) ตัวอย่าง, อุทาหรณ์. วิ. ทสฺสี- ยเต อเนนาติ ทิฏฺฐนฺโต. ทิฏโฐ วา ปกตสฺส อนฺโต ปริสมตฺถิ เยเนติ ทิฏฺฐนฺโต.
โภต โภตี : (วิ.) ผู้เจริญ. ภู สตฺตายํ. อนฺต ปัจ. เป็น ภวนฺต แปลงเป็น โภต ศัพท์หลังลง อี อิต.
มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
สวนฺตี : (อิต.) แม่น้ำ. วิ. สวตีติ สวนฺตี. สุปสเว, อนฺโต, อิตฺถิยํ อี.
สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
สิทฺธนฺต : (ปุ.) ความเห็น, ลัทธิ. วิ. ฐโต ปกฺโข สิทฺธนฺโต. สิทฺโธ อนฺโต อเนนาติ สิทฺธนฺโต.
สีมนฺต : (ปุ.) ผมที่แสกกลางศรีษะหญิง, แสกผม. วิ. สยฺนติ เอตฺถ อูกา กุสุมาทโยติ สีมนฺติ. สี สเย, อนฺโต, มชฺเฌ มฺอาคโม. ส. สีมนฺต.
สุทฺธนฺต : (ปุ.) ที่อยู่สำหรับฝ่ายใน, ราชวังชั้นใน, ห้องพระมเหสี. วิ. สุทฺธา กามาปคมตฺตา ปริสุทฺธา รกฺขกา อนฺเต สมีเป อสฺเสติ สุทฺธนฺโต.
หิรินิเสธ : (วิ.) ผู้เกลียดกันซึ่งอกุศลวิตกด้วยหิริ วิ. อกุสสวิตกฺกํ หิริยา นิเสเธตีติ หิรินิเสโธ. ผู้เกลียดกันซึ่งอกุศลวิตกอันเกิดขึ้นแล้วในภายในด้วยหิริ วิ. อนฺโต อุปฺปนฺนํ อกุสลวิตกฺกํ หิริยา นิเสเธตีติ หิรินิเสโธ.
เหมนฺต : (ปุ.) ฤดูน้ำค้าง, ฤดูหนาว, ฤดูหิมะ. วิ. หิมานิ เอตฺถ สนฺตีติ เหโม. โส เอว เห มนฺโต. อนฺต ปัจ. สกัด. อีกอย่างหนี่งสำเร็จรูปมาจาก หิม+อนฺต (ฤดู) เอา อิ เป็น เอ. ในฎีกาสัคคกัณฑ์ วิ. หิโนติ หหานึ คจฺฉติ สพฺพกมฺม เมตฺถาติ เหมนฺโต. หิ คติยํ, อนฺโต.
อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
เอกนฺตโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชาย ข้างเดียว วิ. เอกสฺมึ อนฺเต ปริยนฺเต โลมํ ทสา อสฺสตฺถีติ เอกนฺตโลมี. อี ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. รัสสะเป็น เอกนฺตโลมิ บ้าง.
โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.