อป : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ, ปราศจาก, ไปจาก, หนี, หลีก, ไกล, พ้น, ไร้, กลับ, ลง, นินทา.ส.อป.
อปคา : (อิต.) แม่น้ำ, ลำน้ำ (ทางน้ำที่ใหญ่ยาว)ส. อปคา.
อปจิติ : (อิต.) การยำเกรง, ฯลฯ, ความยำเกรง, ฯลฯ.อปปุพฺโพ, จายุปูชายํ, ติ.แปลงอาเป็นอิ ลบที่สุดธาตุ.ส. อปจิติ.
อปโลกน : (นปุ.) การแจ้งความ, การบอกกล่าว, การบอกให้ทราบ, การประกาศ, การเลือก, การอนุญาต, การอำลา, อปปุพฺโพ, โลกฺภาสยํ, ยุ.
อปโลกิต : (นปุ.) อปโลกิตะ ชื่อของพระนิพพานพระนิพพาน.วิ.นปลุชฺชนภาวํคจฺฉตีติอปโลกิตํ.
อปคม : ป. การหนีไป, การไปปราศ
อปจายก, อปจายิก, อปจายี : ค. ผู้นอบน้อม, ผู้เคารพนับถือ
อปจายติ : ก. เคารพ, ยำเกรง, นับถือ
อปจายิต : กิต. เคารพ, บูชา, นับถือ
อปจายี : (วิ.) ผู้ยำเกรง, ผู้เคราพ, ผู้นับถือ, ผู้บูชา.
อปจาร : ป. ความเสื่อม, โทษ, การกระทำผิด
อปจิต : กิต. เคารพ,นอบน้อม
อปจินน : นป. ความพินาศ, ความเสื่อม
อปจินาติ : ก. เคารพ, บูชา, สังเกต, เฝ้าดู, ทำลาย, ขจัด
อปชิต : นป. ความพ่ายแพ้, ความปราชัย
อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
อปธารณ : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การบัง.อปปุพฺโพ, ธรฺธารฺวาธารเณ, ยุ.
อปเนติ : ก. นำไปปราศ, นำออก, เปลื้องออก
อปยาติ : ก. ไปปราศ, หนีไป
อปยาน : นป. การจากไป, การหนีไป
อปยาเปติ : ก. ให้ไปปราศ, ให้ไล่ออก
อปลิขติ, อปเลขติ : ก. ขูดออก, ลบออก
อปลิขน, อปเลขน : นป. การขูดออก, การลบออก
อปลิพุทฺธ : ก. ไม่ถูกขัดขวาง, ไม่ถูกกีดกัน, เป็นอิสระ
อปโลกนกมฺม : (นปุ.) การประกาศให้ทราบ.
อปโลกิน : นป. พระนิพพาน
อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
อปวาเหติ : ก. ให้นำไป, ให้เลิก
อปวิณาติ : ก. ดูแล, เฝ้าดู, เอาใจใส่
อปวิทฺธ : กิต. ถูกขว้างไป, ถูกปฏิเสธ
อปวิยูหติ : ก. ขจัดออก, นำออก, เช็ดออก
อปสกฺกติ : ก. หลีกไป, หนีไป, หลบไป
อปสกฺกน : นป. การหลีกไป, การหลบไป
อปสาเทติ : ค. รุกราน, ลบหลู่, ติเตียน
อปธาเรติ, อปธารยติ : ก.สังเกต, ขอร้อง, เชิญ
อปฺปโพธติ (อปโพเธติ) : ก. บรรเทา (ความหลับ), ตื่นอยู่, ขจัด
อปิ : (อัพ. อุปสรรค)ใกล้, บน, ข้างบน.
อปิ นาม : (อัพ. นิบาต) ลงในอรรถสรรเสริญ, นินทา, สัญญา, ปฏิญาณ.
อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
สาปเทส : (วิ.) มีที่อ้าง, มีที่อ้างอิง. สห+อป เทส.
อปการ : (วิ.) ทำให้ผิดรูป, พิการ, น่าเกลียด.อป+กรฺธาตุณ ปัจ.
อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
อปามคฺค : (ปุ.) หญ้าเขี้ยวงู, หญ้าพันงู.อป+มชฺชฺ+อปัจ. ทีฆะ.
เกตุ : (ปุ.) ลักษณะ, ธง. วิ. กิตฺติ อปเนติ เอเตนาติ เกตุ. กิตฺ นิวาเส, อุ กิตติ อุทฺธํ คจฺฉ ติ อุปริ นิวสตีติ วา เกตุ. กัจฯ๖๗๑ รูปฯ ๖๖๕ วิ อุทฺธํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ เกตุ. กิคติยํ. ตุ, อิสฺเส. ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. สฺ เกตุ.
ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
ฉท : (ปุ.) ใบ, ใบไม้, ปีก, ปีกนก, ฝัก, ดอกตูม, หลังคา. ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. ฉท.
ฉลฺลิ : (นปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้, สะเก็ด. ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ลิ, ทสฺส โล. ส. ฉลฺลิ. ฉลฺลี. ฉลฺลี (ปุ.?) ลูกหลาน, เครือเถา, เถาวัลย์.
ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.