Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อภัพบุคคล, บุคคล, อภัพ , then บุคคล, ปุคคล, อภัพ, อภัพบุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อภัพบุคคล, 390 found, display 1-50
  1. นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
  2. โปส : (ปุ.) สัตว์, มนุษย์, บุคคล, บุทคล, คน, บุรุษ, ชาย, ผู้ชาย. ปุสฺ โปสเน, โณ. ปุรฺ ปูรเณ วา, โส, อุสฺโสตฺตํ, รฺโลโป.
  3. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  4. ธมฺมการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำซึ่งธรรม, บุคคล ผู้ทำซึ่งธรรมโดยปกติ, ฯลฯ, ตุลาการ.
  5. นิติปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลโดยกฎหมาย, บุคคล ตามกฎหมาย, นิติบุคคล. ไทย นิติบุคคล หมายถึงองค์การหรือคณะบุคคล ซึ่ง กฎหมายสมมุติให้เป็นบุคคลมีสิทธิและ หน้าที่ที่กำหนดไว้ตามกฎหมาย.
  6. สมคฺต : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคล ผู้พร้อมเพรียงกัน, ฯลฯ. สม+อา+คมฺ คติยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ รัสสะ ซ้อน ค.
  7. ถูปารหปุคคล : (ปุ.) บุคคลผู้ควรแก่สถูป, บุคคล ที่ควรนำอัฐิบรรจุสถูป. บุคคลที่ ควรนำอัฐิมาบรรจุสถูป มี ๔ ประเภท คือ พระพุทธเจ้า ๑ พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑ พระอรหันตสาวก ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ ๑.
  8. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  9. นายกรฏฺฐมนฺตี : (วิ.) (บุคคล) ทั้งเป็นผู้นำ ทั้งเป็นที่ปรึกษาของรัฐ.
  10. ปเทสวสฺสี : ค. (ฝน) ซึ่งตกในที่บางส่วน, (บุคคล) ผู้เป็นดุจฝนตกเฉพาะที่บางส่วน คือให้ทานแก่คนไม่ทั่วหน้า
  11. ปภุ : (ปุ.) ชน, คน, บุคคล. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อ. รัสสะ อู เป็น อุ.
  12. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  13. มานว : (ปุ.) ชาย, ผ้ชาย, คน, บุคคล. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานโว. ณว ปัจ. รูปฯ ๓๕๖.
  14. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  15. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  16. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  17. กตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำ แล้วแก่ตน โดยปกติ วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ สีเลนาติ กตญฺญู. ผู้มีปกติรู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแก่ตน วิ. กตํ ชนิตุ   สีล มสฺสาติ กตญฺญู. ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคล อื่นทำแล้วแก่ตน วิ. กตํ อุปการํ ชานาตีติ กตญฺญู. ผู้รู้คุณท่าน. กตปุพฺโพ, ญา  ญาเณ, รู.
  18. กตญฺญูกตเวที : (ปุ.) บุคคลผู้รู้คุณท่านและ ตอบแทนคุณท่าน, ฯลฯ. ไทยตัดพูดเฉพาะ กตัญญู แต่ความหมาย หมายถึง กตเวที ด้วย.
  19. กตปฏิสนฺถารภิกฺข : (ปุ.) ภิกษุผู้มีปฏิสันถาร อันบุคคลทำแล้ว.
  20. กตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกิน ในเวลาเช้าอันทำแล้ว วิ. ปาโต อาสิตพฺ โพติ ปาตราโส. อ ปัจ. กัมมรูป กัมม สาธนะรฺ อาคม. กโต ปาตราโส เยน โส กตปาตราโส.
  21. กตเวที : (วิ.) ยังบุคคลให้รู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ยังบุคคลให้รู้ซึ่ง คุณอันบุคคลทำแล้วแก่ตน, ผู้ประกาศซึ่ง อุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ผู้ตอบแทน อุปการะของท่าน, ผู้ตอบแทนอุปการคุณ ของท่าน, ผู้สนองคุณท่าน, ผู้ตอบแทนคุณ ท่าน.
  22. กตสกฺการสมฺมาน : (วิ.) ผู้มีสักการะและ สัมมานอันบุคคลทำแล้ว.
  23. กปฺปาสิก : (ไตรลิงค์) ผ้าอันบุคคลทอด้วยฝ้าย, ผ้าฝ้าย, ผ้าด้าย. กปฺปาสผลวิการตฺตา กปฺปาสิกํ. ณิก ปัจ.
  24. กปลฺลปูว : (ปุ.) ขนมอันบุคคลให้สุกแล้วบนกระเบื้อง, ขนมเบื้อง
  25. กมฺมาร : (ปุ.) บุคคลผู้ยังน้ำให้ตาย. ก + มาร.
  26. กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
  27. กมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ฯลฯ. ตาปัจ. ภาวตัท.
  28. กร : (ปุ.) บุคคลผู้ทำ, แขน, มือ, งวง, กาย, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ฝูง. กรฺ กรเณ, อ. ส. กร.
  29. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  30. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  31. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  32. กายทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่วอันสัตว์ ทำแล้วด้วยกาย, ความประพฤติชั่วอัน บุคคลทำแล้วด้วยกาย. วิ. กาเยน กตํ. ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ. ความประพฤติชั่ว ด้วยกาย, ความประพฤติชั่วทางกาย. วิ. กาเยน ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ.
  33. กาลญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ จักกาล. กาลญฺญู+ตา ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ ในเพราะตาปัจ.
  34. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  35. กาสายวตฺถนิวตฺถ : (วิ.) ผู้นุ่งแล้วซึ่งผ้าอัน บุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำฝาด, ผู้นุ่งห่มแล้วซึ่ง....
  36. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  37. กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
  38. กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
  39. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  40. กุลงฺคาร : ป. บุคคลผู้เป็นดุจถ่านเพลิงแห่งวงศ์ตระกูล, ผู้ผลาญวงศ์ตระกูล
  41. กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
  42. กุลาลภณฺฑ : (นปุ.) ของใช้อันบุคคลถือเอาซึ่ง ดินกระทำ, ของใช้สำเร็จด้วยดิน, ของใช้ ที่ทำด้วยดิน.
  43. กุลาลภาชน : (นปุ.) ภาชนะอันบุคคลถือเอาซึ่ง ดินกระทำ ฯลฯ
  44. เกตก : (ปุ.) บุคคลผู้กำหนด, บุคคลผู้เรียก. กิตฺ ญาณสํเกตเนสุ, เกตฺ อามนฺตเน, ณวุ
  45. เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
  46. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  47. โกสารกฺข : ป. ขุนคลัง, บุคคลที่รักษาคลังหรือยุ้งฉาง
  48. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  49. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  50. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-390

(0.0656 sec)