อุปฺปาตก : (ปุ.) หมัด สัตว์เล็กชนิดหนึ่ง ชอบ อยู่ตามหมาและแมว เป็นต้น, ไร สัตว์เล็ก ชนิดหนึ่งที่ชอบอยู่ที่ขนปีกไก่ เป็นต้น.
นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
นิวสติ : ก. พัก, อาศัยอยู่, อยู่
หรณ : (วิ.) เป็นไป, เป็นอยู่, อยู่, อาศัยอยู่.
อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
มุฏฺฐิ : ป. กำมือ, หมัด, กำปั้น
อย : (ปุ.) เหล็ก.วิ.อยตินานากมฺมารกิจฺเจสุโยคํคจฺฉตีติอโย.อยฺคติยํ, อ.ส.อยสฺ.
อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
ทิวาทิวสฺส : อ. แต่ยังวัน, ทั้งยังวันๆ อยู่
พลติ : ก. อยู่
วสต : กิต. อยู่
วิหรติ : ก. อยู่
วุสฺสติ : ก. อยู่
อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
ตฏตฏายนฺต : (วิ.) ประพฤติซึ่งเสียงว่า ตฏะ ๆ อยู่.
ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
ทิพฺพโสต : (ปุ. นปุ.) หูทิพ,หูทิพย์(ฟังอะไรได้ยินหมดแม้อยู่ไกล).
อธิวสติ : ก. อยู่, อาศัย, พำนัก, สิง
อธิวาเสติ : ก. ๑. อยู่, รอคอย, อดทน ;
๒. รับนิมนต์, ตกลง
อภินิวสติ : ก. อยู่, อาศัย, พำนัก
อวสีน : ค. อยู่, คงอยู่
อาวสติ : ก. อยู่, พำนัก, อาศัย
กกฺการุ : (ปุ.) ฟัก, แฟง, แตง, น้ำเต้า. ถ้าประ โยคมี ติ สังขยาอยู่ แปลรวมเป็น ฟักแฟง แตง น้ำเต้า. นับ ฟัก แฟง รวมเป็น ๑. อรุ ปัจ.
กกุนฺทร : นป. ถ้ำของสิงโต, ที่อยู่ของสิงโต
กฏจฺฉุคาหิก : ค. มีช้อนในมือ, ผู้ถือช้อนอยู่
กฐิน : ๑. นป. ไม้สะดึง ; ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาเพื่อทำจีวร;
๒. ค. กระด้าง, แข็งทื่อ, เคร่งตึง
กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
กณฺณกิตา : (อิต.) สนิม (อยู่ตามมุม)?
กณฺณธาร : (ปุ.) คนที่อยู่มุมเรือ (ตอนหนึ่งของเรือ), คนถือท้ายเรือ, นายท้าย, นายเรือ. กณฺณปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, โณ.
กนฺตาริย : ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในที่กันดาร
กปฺปฏฐ, กปฺปฏฐายี : ค. ผู้ตั้งอยู่ตลอดกัป
กปฺปรุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้อันยังความปรารถนา ให้สำเร็จ, ต้นไม้อันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ดังใจนึก (ปรารถนา), ต้นไม้อันตั้งอยู่ตลอดกัป, ทิพยพฤกษ์, ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกคูน หรือราชพฤกษ์ ดอกสีชมพู.
กปฺปิก : ค. ผู้เป็นไปในกัลป์, ผู้เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะ
กปฺปี : ค. ผู้จัดแจง; ผู้ปรารถนา; ผู้ตั้งอยู่ชั่วกัป
กปิลวตฺถุ : (นปุ.) เมืองเป็นที่อยู่ของฤาษีชื่อ กปิละ, เมืองชื่อกบิลพัสดุ์, เมืองกบิลพัสดุ์. วิ. อาทิกาเล กปิลนามกสฺส อิสิโน นิวาส นฏฺฐนตฺตา กปิลวตฺถุ.
กมฺพล : (ปุ.) ผ้าทอด้วยขนสัตว์, ผ้าขนสัตว์, ผ้ากัมพล (ผ้าขนสัตว์ชนิดหนึ่ง), กัมพล ชื่อนาคที่อยู่เชิงเขาสุเมรุ. กมุกนฺติยํ, อโล, พฺอาคโม. อภิฯ กัจฯ และรูปฯ เป็น กมฺพฺ สญฺจลเน, อโล. ส. กมฺพล.
กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
กมฺมวาท : ป. ความเห็นว่ากรรมคือการกระทำมีอยู่
กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
กยวิกฺกยิก : (วิ.) ผู้เป็นอยู่ด้วยการซื้อและการขาย, ผู้ค้าขาย. วิ. กยวิกฺกเยหิ ชีวตีติ กยวิกฺกยิโก. อภิฯ ณิก ปัจ. โมคฯ อิก ปัจ.
กยิก : (วิ.) ผู้เป็นอยู่ด้วยการซื้อ วิ. กเยน ชีวตีติ กยิโก.
กรุณาวิหาร : ค. มีจิตอยู่ด้วยความกรุณา, จิตประกอบด้วยความเอ็นดู
กลมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง) วิ. เก อุทเก ลมฺพตีติ กลมฺพโก (เลื้อยอยู่ในน้ำ). กปุพฺโพ, ลมฺพฺ อวสํสเน, ณฺวุ. เป็น กลมฺ- พุก บ้าง.
กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
กากคุยฺห : นป., ค. ที่กาซ่อนอยู่ได้, รังกา
กามเคธ : ป. ความยินดีในกาม, ความข้องหรือติดอยู่ในกาม
กามชฺฌ : ป. ความติดอยู่ในกาม, ความพัวพันในกาม
กามธาตุ : อิต. กามธาตุ, ธาตุแห่งกาม, โลกที่ยังเกี่ยวข้องอยู่ด้วยการเสพกาม