Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อยู่เบื้องหลัง, เบื้อง, อยู่, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อยู่เบื้องหลัง, 1343 found, display 1-50
  1. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  2. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  3. นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
  4. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  5. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  6. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  7. กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
  8. ฆรกูฏ : (นปุ.) ช่อฟ้า ชื่อตัวไม้ที่ติดอยู่เบื้อง บนของหน้าบัน รูปร่างเหมือนหัวนาค ชู ขึ้นเบื้องบน.
  9. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  10. ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
  11. ชานิปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ชานิปติ. ชายาศัพท์ เมื่อมี ปติ อยู่เบื้อง ปลาย แปลงชายาเป็น ชานิ. อภิฯ กัจฯ ๓๓๙ รูปฯ ๓๔๓. เป็น ชานิปตี โดยเป็น อ. มวัน. บ้าง.
  12. เฏร เฏรก : (วิ.) เหล่ เช่นตาเหล่. ฏุ ปีฬนธํ – เสสุ, โร. แปลง อุ เป็น เอ ศัพท์หลัง ก สกัด. ดำรงค์อยู่. ฐา คตินิวตฺติยํ, อ. .
  13. ตนฺตุนาค : (ปุ.) เมล็ดผักกาด, เมล็ดพันธุ์ผัก กาด, ปลีน่อง (กล้ามเนื้อที่มีลักษณะคล้าย หัวปลีอยู่ด้านหลังของหน้าแข้ง).
  14. ทมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว วิ. ชายา จ ปติ จ ทมฺปติ. เพราะปติ อยู่เบื้องปลาย แปลงชายา เป็น ทํ. ชายาสทฺทสฺส ปติมฺหิ ปเร ทํอาเทโส. นามมาลา ๓๗. ส. ทมฺปติ.
  15. ปรปุริส : (ปุ.) บุรุษอื่น, บุรุษอื่นๆ, บุรุษ เบื้องหลัง.
  16. ปรมฺมรณา : อ. เบื้องหน้าแต่ตาย, หลังจากตาย
  17. ปรวาที : (ปุ.) อาจารย์ผู้มีวาทะอื่น, อาจารย์ผู้ มีวาทะแก่อาจารย์ผู้อยู่ในเบื้องหน้า, พระ ปรวาที พระปรวาทีอาจารย์ ( อาจารย์ ผู้ ตอบ อาจารย์ผู้ค้าน ).
  18. ปโร : อ. ข้างบน, ข้างหลัง, ไปเบื้องหน้า ; มากกว่า
  19. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  20. ปุพฺพกิจฺจ : (นปุ.) กิจที่จะต้อง ทำก่อน,กิจเบื้องต้น,บุพกิจ คือกิจที่ทำหลังบุพกรณ์.
  21. ปุรตฺถิมทิสา : (อิต.) ทิศอันตั้งอยู่ในเบื้องหน้า. ทิศตะวันออก.
  22. ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
  23. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  24. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  25. มณฺฑุก มฺณฺฑูก : (ปุ.) กบ (สัตว์ ๔ เท้า อยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก) วิ. มณฺเฑ-ติ ชลํ ภูเสตีติ มณฺฑุโก มณฺฑูโก วา. มณฺฑฺ ภูสเน, อุโก. ศัพท์หลัง ทีฆะ.
  26. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  27. เหฎฺฐา : (อัพ. นิบาต) เบื้องต่ำ, ภายหลัง, ภายใต้, ในภายใต้.
  28. อญฺโญญ : (วิ.) กันและกัน.อญฺญ+อญฺญลบ อที่สุดของศัพท์หน้าแปลง อเบื้องต้นของศัพท์หลังเป็นโอ.
  29. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  30. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  31. อวหียติ : ก. ถูกทอดทิ้ง, ล้าหลังอยู่
  32. อุทฺธ : ค. เบื้องบน, เลย, เกิน, นอกเหนือไป, ข้างล่าง, (เวลา) หลัง, ต่อไป, ในอนาคต
  33. อุทฺธภาคิย : ค. ซึ่งอยู่ส่วนบน, เป็นส่วนเบื้องสูง
  34. อุปวาส : (ปุ.) การเข้าไปอยู่ วิ. อุปวสนํ อุปวาโส. การอยู่เว้น (อด) อาหาร (ตั้งแต่ หลังเที่ยงไป) คือการจำศีล (รักษาศีล). วิ. อนฺเนน วชฺชิดโต วาโส อุปวาโส. ส. อุปวาส.
  35. อุมงฺค อุมฺมงฺค : (ปุ. นปุ.) ช่องเป็นที่ไปใน เบื้องต่ำ, ทางใต้ดิน, ท่อน้ำ, อุมงค์, อุโมงค์. อโธปุพฺโพ, มคิ คติยํ, อ, ธโลโป, อสฺสุ. ศัพท์หลังซ้อน มฺ.
  36. โอหิยฺยก : ค. ผู้ล้าหลัง, ซึ่งอยู่ข้างหลัง
  37. โอหียติ : ก. ล้าหลัง, ชักช้า, หยุดอยู่ข้างหลัง
  38. โอหียน : นป. การล้าหลัง, การชักช้า, การหยุดอยู่ข้างหลัง
  39. จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
  40. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  41. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  42. นิวสติ : ก. พัก, อาศัยอยู่, อยู่
  43. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  44. หรณ : (วิ.) เป็นไป, เป็นอยู่, อยู่, อาศัยอยู่.
  45. อนฺต : (วิ.) เลว, ทราม, ต่ำ, ต่ำช้า, ลามก, หลัง, สุด, สุดท้าย.ส.อนฺต.
  46. อนฺติม : (วิ.) เกิดในที่สุด, ประกอบในที่สุด, มีในที่สุด, สุด, สุดท้าย, หลัง, เสร็จ.
  47. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  48. อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล่
  49. อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
  50. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1343

(0.0588 sec)