Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อยู่เหย้าเฝ้าเรือน, เหย้า, เรือน, เฝ้า, อยู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อยู่เหย้าเฝ้าเรือน, 990 found, display 1-50
  1. เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
  2. เคหวตฺถุ : (นปุ.) บ้านและวัตถุ. บ้าน, เรือน, เหย้า. ๓ คำแปลนี้ วตฺถุ สกัด.
  3. ขย : (ปุ.) ที่, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, เรือน, แผ่นดิน, กษิติ กษีดิ (แผ่นดิน). ขี ขเย, นิวาเส วา, อ.
  4. นิเกต, นิเกตน : นป. อาคาร, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน
  5. นิวสถ : (ปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โถ. ส. นิวสถ.
  6. ภวน : (นปุ.) ความมี, ความเป็น, ความมีอยู่, ความเป็นอยู่, ที่เป็นที่เกิด, ห้อง, ที่นั่ง, ที่อยู่, บ้าน, เรือน, บ้านเรือน, ภพ. ภู สตฺตายํ, ยุ.
  7. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  8. นิเกตุ : (ปุ.) การอยู่, การอาศัย, ที่อยู่, ที่อาศัย, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, กิตฺ นิวาเส, โณ, ยุ. ส. นิเกต, นิเกตน.
  9. นิวาส : (ปุ.) การอยู่, การอยู่อาศัย, การอยู่ ร่วมกัน, ที่อยู่, ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้าน, เรือน. นิปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โณ. ส. นิวาส.
  10. อชฺฌาวสฏฺฐ อชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน. อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
  11. อชฺฌาวสฏฺฐอชฺฌาวสถ : (ปุ.) ที่อยู่แรม, เรือน.อธิ อา ปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, โฐ, โถ
  12. อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
  13. กุฏิ : (อิต.) เรือน, เรือนพระ, ที่อยู่ของพระ, กระท่อม, กระฏิ, กุฏิ, กุฏี. วิ. กุฏตีติ กุฏิ. กุฏฺ เฉทเน, อิ. เป็น กุฏี บ้าง. ส. กุฏิ.
  14. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  15. เคหชน : ป. เคหชน, คนที่อยู่ในบ้าน, สมาชิกในครัวเรือน
  16. เคหนิสฺสิต : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, เกี่ยวข้องอยู่ในบ้าน, อันเกี่ยวกับชีวิตในครอบครัว
  17. ฆรมานุส : ป. กลุ่มชนผู้อยู่ในเรือน
  18. ฆราวาส : (ปุ.) การอยู่ครองซึ่งเรือน, คนอยู่ ครอบครองซึ่งเรือน, คนอยู่ครองเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส(คนที่มิใช่นักบวช)
  19. ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  20. ทฺวารฏฺฐ : ค., ป. ผู้ยืนอยู่ที่ประตู; ผู้เฝ้าประตู, คนรักษาประตู
  21. นิลย : (ปุ.) เรือน, รัง, ที่อยู่. นิปุพฺโพ. ลิ สิเลสเน, โณ. ส. นิลย.
  22. นิเวส : ป. นิเวส, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้านเรือน, การตั้งภูมิลำเนาอยู่
  23. พนฺธนาคาริก : (ปุ.) คนผู้อยู่ในเรือนเป็นที่จองจำ, นักโทษ. วิ. พนฺธนาคาเร วสตีติ พนฺธนาคาริโก. คนปกครองเรือนจำ วิ. พนฺธนาคารํ ปาเลตีติ พนฺธนาคาริโก. ณิกปัจ. ราคมทิตัท.
  24. มณฺฑิร : (ปุ. นปุ.) เรือน, เรือนหลวง, นคร, เมือง, เมืองหลวง, กรุง, ที่อยู่, มณเฑียร, ดู มนฺทิร ด้วย.
  25. มาฬ : (ปุ.) เรือนยอดเดียว, โรง คือสิ่งที่ปลูกไว้สำหรับอยู่ หรือไว้ของ ไม่มีพื้นไม้. มา มาเน, โฬ.
  26. สยนิคฺคห : (นปุ.) ห้องอยู่, ห้องนอน, เรือนเป็นที่นอน. วิ. สยติ เอตฺถาติ สยนี. สาเอว คหํ สยนิคฺคหํ.
  27. สุราลย : (ปุ.) ที่อยู่ของเทวดา, เรือนของเทวดา, วิมานของเทวดา, สวรรค์, สุราลัย.
  28. อคาร : (ปุ. นปุ.) เรือน, โรง, ที่อยู่, กระท่อม, หอ, อาคาร, ส. อคาร, อาคาร.
  29. อคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, ฆราวาส, คฤหัสถ์, ชาวบ้าน.
  30. อชฺฌาวสติ : ก. อยู่ครอบครอง, อยู่อาศัย, อยู่ครองเรือน
  31. อนาคาริก : (วิ.) ผู้ไม่ประกอบในเรือน, ผู้ไม่อยู่ครองเรือน, ผู้ไม่ครองเรือน.วิ.อคาเรนิยุตฺโตนอตฺถีติอนาคาริโก.อิกปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  32. อนิเวสน : (วิ.) ผู้ไม่มีเรือนเป็นที่ตั้ง, ผู้ไม่ติดที่อยู่.
  33. อนุติฏฺฐติ, อนุติฏฺฐหติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู ตั้งขึ้น, ตกลง
  34. อาคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, คฤหัสถ์. อคาร+ณิกปัจ.แปลงกเป็นยเป็นอาคาริยบ้าง.
  35. อิตฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนคือหญิง, เรือนของ หญิง, พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, ห้องพระมเหสี. วิ. ราชิตฺถีน มคารํ อิตฺถาคารํ. โดยอุปจารโวหาร หมายเอา นางสนม กำนัล ก็ได้.
  36. อุปติฏฐติ : ก. ยืนอยู่ใกล้ๆ , เฝ้าดู, เคารพ
  37. โอกจร : ค. ผู้อาศัยอยู่ในเรือน, ผู้อยู่ในน้ำ, ผู้เที่ยวไปในน้ำ เช่น ปลา เป็นต้น
  38. เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
  39. คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
  40. คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)
  41. โคเปติ : ป. รักษา, คุ้มครอง, ดูแล, เฝ้า
  42. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  43. นิวสติ : ก. พัก, อาศัยอยู่, อยู่
  44. ปติสฺสย : ป. ที่พำนัก, ที่อาศัย, เรือน
  45. หรณ : (วิ.) เป็นไป, เป็นอยู่, อยู่, อาศัยอยู่.
  46. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  47. อาวาส : (วิ.) เป็นที่อยู่, เป็นที่อาศัย, เป็นที่ อยู่อาศัย, เป็นที่อบรม, ครอบครอง, อยู่ ครอบครอง.
  48. การเภทก : (ปุ.) นักโทษแหกคุก. การา (เรือน จำ) + เภทก. รัสสะ อา เป็น อ.
  49. คมน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไป, เรือน. คมฺ คติยํ, ยุ.
  50. ฆร : (นปุ.) กล่อง, เรือน. วิ. ฆรติ กิเลสวสฺสํ เอตฺถาติ ฆรํ. ฆรฺ เสจเน, โณ. คยฺหตีติ วา ฆรํ. คหฺ คหเณ. โณ, คหสฺส ฆราเทโส. รูปฯ ๕๖๗.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-990

(0.0802 sec)