Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างเดียวกัน, เดียวกัน, อย่าง , then เดียวกัน, อยาง, อย่าง, อยางดยวกน, อย่างเดียวกัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างเดียวกัน, 471 found, display 1-50
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. เอกชฺฌสมาทาน : (นปุ.) การถือเอาด้วยดี เป็นอันเดียวกัน, ฯลฯ, การสมาทานรวม กัน. การสมาทานมี ๒ อย่าง คือ สมาทาน แยกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน อย่างหนึ่ง การสมาทานรวมกัน เช่น กล่าวว่า พุทฺธปญฺญ ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ. เรียกว่า เอกชฺฌสมาทาน อย่างหนึ่ง. ผู้สมา ทานล่วงสิกขาบทใดบทหนึ่ง เป็นอันขาด หมดทุกสิกขาบท (ศีลขาดหมดทุกข้อ).
  3. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  4. กุล : (นปุ.) หมู่แห่งชนผู้มีชาติอย่างเดียวกัน. กลฺ สํขฺยาเณ, อ, อสฺสุ.
  5. คุคฺคุล คุคฺคุฬ คุคฺคฬุ คุคฺคุฬุ : (ปุ.) ไม้กำกูน, ไม้กำคูน(สองชื่อนี้ เป็นไม้อย่างเดียวกัน), ภาษาเก่าใช้ว่า คำคูน คำคูล. คูน ต้นคูน (ดอกเป็นช่อยาวสีเหลืองราชพฤกษ์ก็เรียก). โรคหรเณ คุรุโนปิ เวชฺชสฺส คุรุ คุคฺคุฬุ.
  6. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  7. เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
  8. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  9. เอกฉนฺท : (วิ.) มีความพอใจอย่างเดียวกัน, มี ความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน, มีความเห็น เป็นอย่างเดียวกัน.
  10. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  11. ปการ : ป. การทำทั่ว, วิธี, อาการ, อย่าง, ชนิด
  12. ปเภท : (ปุ.) การแยกออกเป็นส่วน, การแยก ออกเป็นส่วน ๆ, การแตก, การทำลาย, ความแตกต่าง, ความต่างกัน, ชนิด, อย่าง, แผนก, ส่วน. ปปุพฺโพ, ภิทิ ทฺวิธากรเณเภ- เท จ, อ. ส. ปฺรเภท.
  13. เอวเมว : (อัพ. นิบาต) อย่างนั้นอย่างนั้น, อย่าง นั้น ๆ, ฉันนั้นฉันนั้น, ฉันนั้น ๆ.
  14. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  15. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  16. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  17. คนฺธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนแพะร้อง วิ. คนฺธ เลสํ อรตีติ คนฺธโร. คนฺธปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. คนฺธโร เอว คนฺธาโร.
  18. คมฺภีร : (ปุ.) คัมภีระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๗ ใน ๘ อย่าง เป็นเสียงลึกสุขุม. ปญฺจนฺนํ ฐานคตีนํ ทูรฏฺฐานโต ชาตตฺตา คมฺภีโร.
  19. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  20. ฆโตท : (ปุ.) ฆโตทะ ชื่อทะเลอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง ดู ขีรณฺณว.
  21. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  22. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  23. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  24. ฉนฺโทวิจิติ : (อิต.) ฉันโทวิจิติ ชื่อวิธีเรียนพระเวท อย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง คือรู้จัก คณะฉันท์ และแต่งฉันท์ได้.
  25. โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
  26. ฌชฺฌรี : (อิต.) มะรุม ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ฝักยาว ใช้แกงส้ม, ผักไห่ ชื่อ ผักชนิดหนึ่งใช้ทำ ยา, ผักปลัง มีสองชนิด เถามีสีครั่งอ่อน อย่าง ๑ เถาสีเขียวอ่อนอย่าง ๑, ผักทอด ยอด (ผักบุ้ง), ฌชฺฌฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อโร, อิตฺถิยํ อี.
  27. ญตฺติกมฺม : (นปุ.) ญัตติกรรม ใช้ในอรรถ ๒ อย่างคือ การตั้งข้อเสนอให้พิจารณา อย่าง ๑ กรรมอันสงฆ์ทำด้วยตั้งญัตติไม่ต้อง สวดอนุสาวนาอย่าง ๑.
  28. เญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้, อัน...ควรรู้, พึงรู้, ควร รู้, เญยยธรรม, ไญยธรรม. ธรรม (วัตถุ ฃเรื่อง) ที่ควรรู้มี ๕ อย่าง คือสังขาร ๑ วิการ (ความผันแปร), ๑ ลักษณะ ๑ บัญญัติ ๑ พระนิพพาน ๑. ญาธาตุ ญฺย ปัจ. แปลง อากับญฺย เป็น เอยฺย
  29. ตสฺสปาปิยสิกา ตสฺสปาปิยฺยสิกา : (อิต.) ตัสสปาปิยสิกา ชื่อวิธีระงับอาบัติอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง
  30. ติณวตฺถารก : (ปุ.) ติณวัตถาระกะ ชื่อวิธีระงับ อธิกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการประนีประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม.
  31. ติสรณคมนุปสฺปทา ติสรณคมนูปสมฺปทา : (อิต.)การอุปสมบทด้วยการถึงสรณะสาม, ติสรณคมนุปสัมปทา ติสรณคมนูปสัมปทา คือการอุปสมบทด้วยการปกิญญาณตน ถึงไตรสรณคมน์ เป็นชื่อของวิธีอุปสมบท อย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่าง เมื่อพระพุทธเจ้า ทรงอนุญาต วิธีอุปสมบทอย่างที่ ๓ แล้ว ทรงอนุญาตวิธีอย่างที่ ๒ นี้เป็นวิธี บรรพชาการบวชเป็นสามเณร.
  32. เตกฏุล : ค. (ยาคุ) ทำด้วยงา, ข้าวสาร, ถั่ว, รวม ๓ อย่าง
  33. ทณฺฑ : (ปุ.) ทัณฑะ ( รุกรม ) ชื่ออุบายเอาชนะ อริราชศัตรูอย่างที่ ๒ ใน ๔ อย่าง ( อีก ๓ อย่างคือ เภทะ การทำให้แตกกัน สามะ การผูกไมตรี ทานะ การให้สินบน ). ทณฺฑฺ ทณฺฑนิปาตเน, อ. ทมุ ทมเน วา, โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ ทฑิ อาณาปหรเณสุ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  34. ทานวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุสำหรับให้, วัตถุสำหรับให้ทาน, ทานวัตถุ. ทานวัตถุมี ๑๐ อย่าง คือ อนฺนํ ปานํ วตฺถํ ยานํ มาลาคนฺธํ (นับ ๒) วิเลปนํ เสยฺยาวสถํ (นับ ๒), ปทีเปยฺยํ.
  35. ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
  36. เธวต : (ปุ.) เธวตะ ชื่อเสียงดนตรีอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนม้าร้อง. อภิฯ วิ. ธีมนฺเต วทียเตติ เธวโต. โต, วณฺณวิกาโร, ฏีกาอภิฯ วิ. ธีมนฺเตหิ คียเตติ เธวโต. วณฺณวิกาโร, มสฺส วตฺตํ.
  37. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  38. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  39. เยภุยฺยสิกา : (อิต.) ความเห็นข้างมาก, เยภุยยสิกา ชื่อของวิธีระงับอธกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการตัดสินเอาตามคำของคนมากเป็นประมาณ.
  40. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  41. โสสานิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีอันอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร, โสสานิกังคะ ชื่อธุรงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ผู้สมาทานธุดงค์นี้ต้องอยู่ในป่าช้า.
  42. อกปฺปิยมส : (นปุ.) เนื้อสัตว์อันไม่สมควรอกัปปิยมังสะคือเนื้อที่ภิกษุฉันไม่ได้มี ๑๐ อย่าง
  43. อาหวนีย : (ปุ.) อาหวนียะ ชื่อไฟอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่าง คือ อาหุเนยยยัคคิ ไฟที่ควรบูชา. วิ. อาหวนํ อรหตีติ อาหวนีโย ไฟอีก ๒ อย่าง คือ คหปตคฺคิ ทกฺขิเณยฺยคคิ.
  44. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  45. อุพฺภิท : (ปุ.) อุพภิทะ ชื่อเกลืออย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง เป็นเกลือที่เกิดในนาเกลือชื่อ รุมะ ในสัมพรี- ประเทศ, เกลือ.
  46. เอหิภิกฺขุอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบท ด้วยพระดำรัสว่าจงเป็นภิกษุมาเถิด, เอหิ ภิกขุ อุปสัมปทา คำเรียกอุปสมบท อย่าง ที่ ๑ ใน ๓ อย่าง เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้า ทรงเอง.
  47. กรุณ : (ปุ.) กรุณะ (ความเอ็นดู) ชื่อนาฏยรส อย่างที่ ๒ ใน ๙ อย่าง. กรฺ กรเณ, อุโณ.
  48. นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
  49. นวโลกุตฺตร : (นปุ.) ธรรมเหนือโลกเก้า, ธรรมอันยังผู้บรรลุให้พ้นวิสัยของโลกเก้า อย่าง. วิ. นว โลกุตตรา นวโลกุตฺครํ.
  50. นานารูป : (วิ.) มีรูปต่างๆ, มีรูปมีประการ ต่างๆ, มีมากอย่าง, มีต่างๆ อย่าง. วิ. นานปฺปการา รูปา ยสฺส โส นานารูโป.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-471

(0.1037 sec)