Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างไร , then อยางร, อย่างไร .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างไร, 43 found, display 1-43
  1. กิญฺจ : อ. ไฉนไม่, อย่างไร, ทำไม
  2. กินฺติ : อ. โดยวิธีใด, อย่างไร, ว่าอย่างไร
  3. กึสุ : อ. แลหรือ, อย่างไร, อย่างไรเล่า
  4. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  5. ยถา : (อัพ. นิบาต) ฉันใด, ประการใด, โดยประการใด, อย่างไร, เป็นอย่างไร, ด้วยประการใด, ควร, สมควร, ตาม, เดิม.
  6. กจฺจิ นุ : (อัพ. นิบาต) บ้าง, อย่างไร, อย่างไร สิ, ใช่หรือ, หรือหนอ, อะไร.
  7. กถ : (อัพ. นิบาต) อย่างไร, อย่างไรสิ, อย่างไร ได้, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร, อะไร สิ, ไฉนเล่า, ไฉนหนอ, ทำไม, ประการไร, ซึ่งประการไร, ด้วยประการไร. วิ. โก ปกาโร กถํ. ฯลฯ. กัจฯ ๓๙๙ ว่าตั้ง วิ. ตามวิภัตตินามได้ทั้ง ๗. รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ไว้ ๓ คือ ปฐมา ทุติยา และตติยา. กึ ศัพท์ ถํ ปัจ. รูปฯ ว่า ลบ นิคคหิต แล้ว แปลง กิ เป็น ก บาลีไวยากรณ์ว่าแปลง กึ เป็น ก. ส. กถมฺ.
  8. กจฺจินุ : อ. อย่างไร? แลหรือ?
  9. กถกร : ค. อันกระทำอย่างไร
  10. กถปการ : ค., กถํวิธ ค. มีชนิดไร, เป็นอย่างไร
  11. กถภูต : ค. มีชนิดใด, เป็นอย่างไร, บังเกิดแล้วอย่างไร
  12. กถสีล : ค. มีศีลอย่างไร
  13. กถ สุ : (อัพ. นิบาต) อย่างไรสิ.
  14. กานาม : ค. (หญิง) มีชื่อว่าอย่างไร?
  15. กินฺนาม : ชื่อไร, มีชื่อว่าอย่างไร
  16. กิมกฺขายี : ค. ผู้มีปกติกล่าวว่าอย่างไร
  17. กีทิส : ค. เช่นไร? อย่างไร? เหมือนอะไร?
  18. กึชจฺจ : ค. ผู้มีชาติอย่างไร, เป็นวรรณะอะไร, เกิดมาจากไหน
  19. กึนาม : ค. ชื่ออะไร, มีชื่อว่าอย่างไร
  20. กึ นุ โข : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุอะไรหนอ แล, อะไรหนอแล, อย่างไรหนอแล. กึ แปลเป็นเหตุก็ได้ ฉัฏฐี  ก็ได้ ทุติยาก็ได้.
  21. กึวาที : ค. ผู้ชอบกล่าวถึงอะไร, ผู้มีความเห็นว่าอย่างไร
  22. กึสีล : ค. ผู้มีอะไรเป็นปกติ, ผู้มีอุปนิสัยอย่างไร
  23. กึ สุ : (อัพ. นิบาต) อะไรสิ, อย่างไรสิ, มิใช่ หรือ, บ้างหรือหนอ, อะไร.
  24. กึอกฺขายี : ค. มีปกติกล่าวว่าอย่างไร, หรืออะไร, ผู้มักถาม
  25. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  26. ตถาการี : (วิ.) (คนตรง คิด พูดอย่างไร) ทำ อย่างนั้น.
  27. ปิ : อ. แม้ว่า, ผิว่า, แต่, ถึงกระนั้น, บางที, อย่างไรดี, สมควร, ด้วย, เหมือนกัน
  28. ยถากมฺม : (นปุ.) กรรมอย่างไร, ตามกรรม.
  29. ยถาการี : ค. ผู้มีปกติกระทำอย่างไร, อย่างที่เขาทำ
  30. ยถาตถ : (นปุ.) อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง.
  31. ยถาตถ : (อัพ. นิบาต) อย่างใดอย่างนั้น, อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง, จริง, แท้.
  32. ยถาผาสุก : (วิ.) มีความสำราญอย่างไร.
  33. ยถาภูต : (วิ.) เป็นแล้วอย่างไร.
  34. ยถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างไร, ตามแบบอย่างนั้น, เช่นนั้น.
  35. ยถาวาที : (วิ.) พูดอย่างไร, มีปกติพูดอย่างไร.
  36. ยถาสภาว : (ปุ.) ความจริงอย่างไร, ความเป็นจริงอย่างไร.
  37. ยถิจฺฉิต : (วิ.) อันตนปรารถนาแล้วอย่างไร.
  38. ยทิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาอย่างไร, ความประสงค์อย่างไร, ความประพฤติตามอำเภอใจ. วิ. ยา ยา อิจฺฉา อธิปฺปาโย ยทิจฺฉา.
  39. ยาทิส, - สก : ค. อย่างไรก็ดี, เหมือนอย่างไรก็ดี, อย่างไรก็ตาม
  40. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  41. อปฺเปวอปฺเปวนาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อย่างไรเสีย, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อแม้ไฉน.อปิ+เอวแปลงอิเป็นยแปลงยเป็นป.
  42. อปฺเปว อปฺเปว นาม : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, อย่างไรเสีย, ถ้ากระไร, ชื่อไฉนหนอ, ชื่อ แม้ไฉน. อปิ+เอว แปลง อิ เป็น ย แปลง ย เป็น ป.
  43. อเห : อ. เอะ! นี่แน่ะ! อย่างไรกันนี่!
  44. [1-43]

(0.0160 sec)