อรุณ : (วิ.) แดง, แดงเรื่อ, แดงอ่อน, รุ่ง.
อรุณสทิส : ค. เหมือนอรุณ, มีสีเหมือนสีอรุณ
อรุณวณฺณ : ค. มีสีแดงเรื่อ, เป็นสีแดง
อรณ : (วิ.) ไม่มีข้าศึก, ไม่มีข้าศึกคือกิเลส.ไม่มีกิเลส, ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความเสีย-หาย, ไม่มีบาป, ไม่มีการรบ, ไม่มีเสียง.ส. อรณ.
ปุล : (วิ.) ใหญ่, เจริญ, รุ่ง. ปุลฺ มหตฺเต, อ.
ทิตฺติ : (อิต.) ความสวยงาม, ฯลฯ. ความรุ่ง เรือง, ไฟ, รัศมี, แสง. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ติ.
ปจฺจูส : ป. ใกล้รุ่ง, เช้าตรู่
ปจฺจูสกาล : ป. รุ่งสว่าง, เช้ามืด
ปณฺฑุมตฺติกา : อิต. ดินเหนียวสีเหลือง, ดินสีอรุณ
ปุนทิวส : ป., นป. วันใหม่, วันรุ่งขึ้น, วันพรุ่ง
พลวปจฺจุส พลวปจฺจูส : (ปุ.) กาลอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
สุปฺปภาต : นป. วันดี, อรุณสวัสดิ์
สุริยุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์, เวลาเช้า, เวลาได้อรุณ.
อติโรจน : (นปุ.) ความงดงามยิ่ง, ความรุ่ง เรืองยิ่ง, ความสว่างไสวยิ่ง.
อรุณุคฺคมน : (นปุ.) การขึ้นไปแห่งอรุณ.
อรุณุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งอรุณ.
อรุโณทย : (ปุ.) การขึ้นไปแห่งอรุณ, การตั้งขึ้นแห่งอรุณ, อรุโณทัยอโณทัย(พระอาทิตย์เพิ่งขึ้น).ส.อุษสฺ
โอสธี : (วิ.) ประจำรุ่ง.
อรณวิหารี : ค. ผู้อาศัยอยู่ในที่อันสงบ
อรณิ : อิต. ไม่สีไฟ
อรณิ อรณี : (ปุ.) ไม้สีไฟ, เหล็กเพลิง. วิ. อรียตีติ อรณี. อรฺ คมเน, อณี. ยํ กฏฺฐํ กฎฺฐนฺตเรน อคฺคินิปฺผาทนตฺถํ ฆํสียเต ตํ อรณี.
อรุณี : (อิต.) แม่แกะ, นางแกะ.
อิริน, อิริณ : นป. ป่าใหญ่, ทะเลทราย, สถานที่แห้งแล้ง
อิรีณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมิได้ (เพราะไม่มีต้นไม้ ภูเขา เป็นต้น), ที่มี ดินเค็ม.
อีรณ : (วิ.) ขว้าง, ซัด, โยน, เคลื่อนไหว. อีรฺ เขปเน, ยุ.
อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
อุรณ : (ปุ.) แกะ, แพะ. วิ. น รณตีติ อุรโณ (ไม่ร้องดัง). อุปุพฺโพ ปฏิเสเธ, รณฺ สทฺเท, อ. ส. อุรณ อุรภฺร.
อุรณี : (อิต.) แกะตัวเมีย, แพะตัวเมีย.
อุรุณ : (ปุ.) แกะ, แพะ, อุรณ ศัพท์ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ.
ชว : (วิ.) รับ, เร่ง, ด่วน, แล่นไป, ว่องไว, เชาว์. ส. ชว.
ตถตฺต : (วิ.) มีจิตเที่ยง, มีจิตตรง.
สุรงฺค : (ปุ.) สีงาม, สีดี, สีงามเรืองรอง, สีฉูดฉาด, สุรงค์, สุหรง (สีงาม สีจัด สีฉูดฉาด). สุนฺทร+รงฺค. ส. สุรงฺค.