อล : (นปุ.) การประดับ, การตกแต่ง, ความประดับ, ความตกแต่ง, อลฺภูสเน, อ.
อล, อฬ : ๑. ป., นป. เล็บมือเล็บเท้า, อุ้งเท้า, ก้ามของสัตว์มีปูเป็นต้น ;
๒. ค. พอ, เพียงพอ, เป็นไปได้
อลกา : (อิต.) อลกาชื่อเมืองกุเวร, เมืองกุเวร.วิ. อลํกโรตีติ อลกา.อลปุพฺโพ, กรฺกรเณ, กฺวิ.เป็นอาลกา บ้าง.ส. อลกา.
อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
อลกตปฏิยตฺต : (วิ.) ทั้งประดับแล้วทั้งตกแต่งแล้ว, อันประดับแล้วและอันตกแต่งแล้ว.
อลกมฺม : (ปุ.) ความควรแก่การงาน, ความสามารถเพื่ออันทำ, ความสามารถเพื่อจะทำวิ.กมฺมสฺสอลํสมตฺโถติอลํกมฺโมเป็นอมาทิปรตัป.รูปฯ ๓๓๖.
อลกสฺม : (วิ.) ผู้ควรแก่การงาน, ผู้สามารถเพื่ออันทำ, ผู้สามารถเพื่อจะทำ.กสฺมสำเร็จรูปมาจากกรฺธาตุสฺม ปัจ. ลบ รฺ.
อลกอลงฺก : (นปุ.) เครื่องประดับพิเศษ.
อลการอลงฺการ : (ปุ.) การประดับ, วิ. อลํ วิภูส-ณํกรียเตติอลํกาโร.อลงฺกาโรวา.ณ ปัจ.ส. อลงฺการ.
อลปเตยฺยา : อิต. ผู้มีอายุพอจะแต่งงานได้, หญิงที่ถูกกล่าวว่า “พอละ” เป็นการแสดงความไม่พอใจของสามีไล่ให้เธอกลับไปหามารดาบิดา
อลวจน : (ปุ.) ความสามารถเพื่ออันกล่าววิ.วจนายอลํสมตฺโถติอลํวจโน.
อลวจนียา : อิต. หญิงที่ควรแก่การว่ากล่าวอบรมได้
อลสก : นป. การกินอาหารมากเกินไปจนไม่ย่อย
อลสน : (นปุ.) ความเกียจคร้าน.วิ.นลสนํอลสนํ.
อลสาชีว : ค. ผู้สมควรแก่การคบเพื่อน
อลสาฏก : (ปุ.) อลังสาฏกะชื่อคนที่บริโภคมากจนไม่สามารถจะนุ่งห่มผ้าสาฏกได้.
อลสุณ : ค. ไม่ใช่กระเทียม
อล (หล) : ๑. อ. พอ, เพียงพอ, หยุด, อย่าเลย ;
๒. ค. สามารถ, ควร, แน่นอน, เหลือคณนา, นับไม่ได้
เอล เอฬ : (วิ.) ชั่ว, เลว.
อีลี : (ปุ.) ไม้ตะบอง, ไม้เท้า. อิลฺ คติยํ, อี. ส. อีลี.
อุล : (นปุ.) ละอองน้ำ. อุลฺ คมเน, อ.
อลิ : ป. ผึ้ง, แมลงภู่, แมลงป่อง
อลุ : (ปุ.) หม้อน้ำย่อม ๆ.
เอล : ๑. ป. กระวาน;
๒. นป. โทษ, บาป, ความชั่ว
โอลิ (ลี) ยติ : ก. ติด, ยึด; เฉื่อยชา, ล้าหลัง
กก กงฺก : (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม.
กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
จณฺฑ จณฺฑาล : (วิ.) หยาบช้า, เกรี้ยวกราด, ร้ายกาจ, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ขึ้งเคียด, ขึ้ง เคียดนัก, จัด, ฉุนเฉียว, โหด, เหี้ยม, โหดเหี้ยม, จฑิ จณฺฑนโกเปสุ. ศัพท์แรก อ ปัจ. กัจฯ และรูปฯ ลง ก ปัจ. ลบ ก ศัพท์หลังลง อล ปัจ.
ภคณฺฑล ภคนฺทล : (นปุ.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
ภคณฺฑลา ภคนฺทลา : (อิต.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
มุลาล มุฬาล : (ปุ. นปุ.) รากเหง้า. วิ. มูเลชายตีติ มุลาโล มุฬาโล วา. มูล+อล ปัจ. รัสสะ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อโล, รสฺโส. มีลฺนิมีลเน วา, อโล. แปลง อี เป็น อุ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
ยม ยมก ยมล : (นปุ.) คู่, แฝด. ยมุ ธาตุ อ, ณฺวุ และ อล ปัจ.
สลสี : (อิต.) ขนเม่น. สลฺ ธาตุ อล ปัจ. อี อิต.
อฬ, - ฬก : นป. ก้ามปู, เล็บ
อุฬุ : (อิต.) ดาว วิ. อุลยตีติ อุลู. อุลูเอว อุฬุ. อุลฺ คมเน, อู. รัสสะ อู เป็น อุ. ฎีกาอภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น นปุ. บ้าง.
กมล : (นปุ.) บัว, ดอกบัว, ใจ, กมล กระมล (จากปฐมสมโพธิ). วิ. กํ อลยตีติ กมลํ. กปุพฺโพ, อลฺ วิภูสเน, อ. ส. กมล. กมล
กาโกล กาโกฬ : (ปุ.) กาป่า วิ. กาโก วิย อุลตีติ กาโกโล กาโกโฬ วา. อุลฺ คมเน, อ.
กุมฺภีล : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปในห้วงน้ำ, จระเข้, กุมภา กุมภีล์. วิ. กุมเภ อุลตีติ กุมฺภีโล. กุมฺภปุพฺ- โพ, อุลฺ คมเน, อ, อุสฺสี. ส. กุมฺภีร.
กุลฺล : (ปุ.) แพ วิ. เก อุทเก อุลตีติ กุลฺโล. กปุพฺโพ, อุลฺ คมเน, อ, ทฺวิตฺตํ. อสฺสตฺตํ.
ขมีลน : (นปุ.) ความลับ. ขมปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, ยุ.
เขล เขฬ : (ปุ.) น้ำลาย วิ. ขํ อากาสํ อิลตีติ เขโล เขโฬ วา. ขปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, โณ, อิสฺเส. ขียตีติ วา เขโฬ. ขี ขเย, โฬ. เขฬตีติ วา เขโฬ เขฬฺ คติยํ,อ. ขลฺ วา สญฺจิน- นจลเนสุ โณ, อสฺเส. เป็น อิต. นปุ. ก็มี.
เทฺวฬฺหก : (นปุ.) ความสงสัย วิ. เทฺวธา อิลติ จิตฺต เมเตนาติ เทฺวฬฺหกํ. ทฺวิปุพฺโพ. อิลฺ คติกมฺปเนสุ. โห, ลสฺส ฬคฺคํ. สกคฺเถ โก.
พฺยาล : (ปุ.) สัตว์ร้าย, สัตว์ที่กินเนื้อ. วิ อา ปุพฺโพ, อลฺ นิวารเณ, อ.
มหิลา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง. วิ. มหี วิย สุจิมฺปิ อสุจิมฺปิ ลาตีติ มหิลา, มหีปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, กฺวิ. มหนฺเตสุ พหูสุปิ รตฺตจิตฺเตสุ อิลตีติ มหิลา. อิลฺ คมเน, อ. มหฺ ปูชายํ วา, อิโร, ลตฺตํ, อา. มหียตีติ มหิลา.
ลุก อุลูก อุฬุก : (ปุ.) นกเค้า, นกเค้าแมว, นกฮูก, นกแสก, นกพิราบ. อุลฺ คเวสเน, อุโก, อู วา, สกตฺเถ โก. เป็น อุลฺลุก บ้าง. ส. อุลูก.
อฏฺฏาลอฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺโพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลังณฺวุ ปัจ.
อฏฺฏาล อฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺ โพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลัง ณฺวุ ปัจ.
อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
อาลิ : (ปุ.) แมลงป่อง (ประดับโลก). อลฺ ภูสเน, ณิ. ส. อาลิ.
อิลฺลล : (ปุ.) นก. อิลฺ กมฺปนคตีสุ, โล. แปลง ลฺ เป็น ลฺล.