Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อวัยวะภายใน, อวัยวะ, ภายใน , then ภายน, ภายใน, อวยว, อวยวภายน, อวัยวะ, อวัยวะภายใน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อวัยวะภายใน, 115 found, display 1-50
  1. คพฺภาสย : (ปุ.) มดลูก ชื่ออวัยวะภายในของ หญิงสำหรับตั้งครรภ์. วิ. คพฺโภ อาสเต ติฏฺฐตฺยเตรฺติ คพฺภาสโย (อวัยวะเป็นที่ เข้าไปดำรงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดในครรภ์).
  2. ชลาพุ : (ปุ.) มดลูก (อวัยวะภายในของสตรี อันเป็นที่ตั้งครรภ์) วิ. ชรํ เอตีติ ชลาพุ. ชราปุพฺโพ, อิ คติยํ, อุ แปลง รา เป็น ลา อิ เป็น เอ เอ เป็น อย ย เป็น พ.
  3. กุจฺฉิ : ป., อิต. ท้อง, ครรภ์, โพรง, ภายใน
  4. ปญฺจมหาปริจฺจาค : ป. การเสียสละอย่างใหญ่ห้า (สมบัติ, ลูก, เมีย, อวัยวะ, ชีวิต)
  5. อนฺโต : (อัพ. นิบาต) ในภายใน, ภายใน, ระหว่าง.
  6. ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
  7. อวยว : (วิ.) เป็นส่วน ๆ, แยกออกเป็นส่วน ๆ, เป็นชิ้น.
  8. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  9. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  10. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  11. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  12. เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
  13. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  14. อชฺฌตฺติก : (วิ.) อันเป็นไปภายใน, มีในภายใน, เฉพาะตัว, ส่วนตัว, ภายใน.อชฺฌตฺติกาพาหิรอายตนะภายในและอายตนะภายนอก.
  15. อินฺทฺริยสวร : (นปุ.) ความสำรวมซึ่งอินทรีย์, อินทรีย์สังวร คือการสำรวมอายตนะ ภายใน ๖.
  16. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  17. โอร : (นปุ.) ฝั่งนี้, ฝั่งใน, ฟากฝั่งนี้, ภายใน. วิ. อวเร ตีเร เทเส ภวํ โอรํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โอรํ (อัพ, นิบาต) ฝั่งใน, ในฝั่งใน, ในฝั่งนี้, ในภายใน, ภายใน. ลงในอรรถสัตมี.
  18. กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?
  19. กณฺณ : (ปุ.) อวัยวะเป็นเครื่องฟัง, หู. วิ. กณฺณติ เอเตนาติ กณฺโณ. กณฺณฺ สวเน, อ. ส. กรฺณ.
  20. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  21. กาฏ : ป. อวัยวะสืบพันธุ์ของชาย
  22. กายงฺค : นป. องค์ของกาย, อวัยวะแห่งร่างกาย
  23. กุจฺฉิฏฺฐ : (ปุ.) กุจฉิฏฐะ ชื่อลมภายในอย่างที่ ๓ ใน ๖ อย่าง, ลมในท้อง. วิ. กุจฺฉิมฺหิ ติฏฺฐตีติ กุจฺฉิฏฺโฐ. กุจฺฉิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ, ฏฺ สํโยโค.
  24. เกสี : (ปุ.) อวัยวะมีผม, หัว. อี ปัจ.
  25. โกฏจิกา : อิต. อวัยวะสืบพันธุ์หญิง
  26. โกฏฐพฺภนฺตร : นป. ภายในแห่งท้อง, ลำไส้
  27. โกปีน : นป. ของลับ, อวัยวะสืบพันธุ์; กรรมอันไม่สมควร, เปลือกไม้, ใย, ผ้าขาวม้า
  28. คนฺธมาลาทิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีสักการะมีของหอม และดอกไม้เป็นต้นในมือ. เป็น ภินนา. พหุพ. มี อ.ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  29. คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น ฉ. ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  30. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  31. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  32. คามเขตฺตทฺวิปทจตุปฺปทยานวาหน : (นปุ.) บ้านและนาและสัตว์มีเท้าสองและสัตว์ มีเท้าสี่และยานพาหนะเป็น อ. ทวัน. มี ฉ.ตุล. และ ฉ.ตุล. เป็ยภายใน. ศัพท ปท นั้นใช้ ปาท ก็ได้.
  33. คุมฺพนฺตร : นป. ภายในพุ่มไม้; หมู่ไม้
  34. คุยฺหภณฺฑก : นป. อวัยวะเพศ, อวัยวะสืบพันธุ์
  35. ฆราวาสพนฺธน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องผูกคือ การอยู่ครอบครองซึ่งเรือน เป็น อว.ตัป มี ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  36. จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
  37. จตุกฺกุณฺฑิก : ค. ผู้เดินด้วยอวัยวะสี่ (มือทั้งสองและเข่าทั้งสอง), ผู้คลาน
  38. จตุรงฺค, - คิก : ค. มีองค์สี่, มีอวัยวะสี่, (เสนา) มีสี่เหล่า
  39. เจติยคพฺภ : ป. ห้องแห่งเจดีย์, ห้องเจดีย์, บริเวณภายในองค์เจดีย์
  40. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
  41. เฉชฺช : ๑. นป. การทำโทษด้วยการตัดอวัยวะ; ๒. ค. ควรถูกตัดทิ้ง
  42. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  43. ตุนฺทกูปี ตุนฺทิล ตุนฺที : (ปุ.) อวัยวะอยู่ที่พุง, สะดือ.
  44. ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
  45. ถูลงฺค : ค. ผู้มีอวัยวะ (แขนขา) อ้วนใหญ่
  46. ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
  47. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  48. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  49. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  50. ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-115

(0.0571 sec)