Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อสฺสู , then อสส, อสฺสุ, อสฺสู .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อสฺสู, 163 found, display 1-50
  1. อสฺสุ : (นปุ.) น้ำตา.อสฺอโธปตเน, สุ.อสุเขปเนวา.
  2. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  3. อูรุ อูรุก : (ปุ.) ขา, ลำขา, โคนขา, ต้นขา, ขาอ่อน. วิ. อรนฺติ อเนนาติ อูรุ. อรฺ คติยํ, อุ, อสฺสู. ส. อูรุ.
  4. กมฺภ กุมฺภก : (ปุ.) เสากระโดง. กมุ อิจฺฉายํ, โภ, อสฺสุ, สกตฺเถโก. อภิฯ เป็น นปุ.
  5. กุนฺต : (ปุ.) หลาว, ทวน, กุ วิย อสิ วิย ปจฺจา มิตฺตานํ สรีรํ ตียตีติ กุนฺโต. กุปุพฺโพ, ติ เฉทเน, อ, นิคฺคหิตาโม. กมตีติ วา กุนฺโต. กมุ ปทวิกฺเขเป, โต, ตสฺส นฺตาเทโส ธาตฺ วนฺตสฺส โลโป, อสฺสุ, กนฺตฺ เฉทเน วา, อสฺส. ส. กุนฺต.
  6. กุนฺตนิ กุนฺตนี กุนฺทติ : (อิต.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, ยุ, อสฺสุ, อิตฺถิยํ อี. ศัพท์หลัง อ, ติ ปัจ. แปลง ต เป็น ท
  7. กุมฺภี : (อิต.) หม้อ, ขวด, ตุ่ม. วิ. กุยา ปฐวิยา ภวตีติ กุมฺภี. กุปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, อิตฺถิยํ อี, นิคฺคหิตาคโม. เกณ อคฺคินา ภวติ เตเนว ปจนภาวโตติ วา กุมฺภี. กปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, อสฺสุ, นิคฺคหิตาคโม. เกน ชเลน อุมภียตีติ กุมฺภี. อุภฺ อุมฺภฺ วา ปูรเณ, กมุ อิจฺฉายํ วา, โภ, อสฺสุ, อิตถิยํ อี.
  8. ตุริต : (วิ.) รีบ,เร็ว, พลัน, ด่วน. ตรฺ ตรเณ, โต, อสฺสุ, อิอาคโม. ตุรฺ สีฆคติยํ วา, โต, อิอาคโม.
  9. เปขุณ : (นปุ.) ปีก, ปีกนก. ปปุพฺโพ, อุขฺ คติยํ, ยุ, อุสฺเส, อสฺสุ, ณตฺตํ. อภิฯ. ปุขฺ คติยํ, ยุ. เวสฯ.
  10. ภาสุร : (วิ.) แจ่มใส, เปล่งปลั่ง, ผุดผ่อง, สวยงาม, สว่าง, ส่องสว่าง, รุ่งเรือง, มีรัศมี. ภา ทิตฺติยํ, สโร, อสฺสุ, ภาสุ ทิตฺติยํ วา, อุโร.
  11. อุพฺพี : (อิต.) แผ่นดิน. วิ. อวติ ภูตานีติ อุพฺพี. อวฺ ปาลเน, อ, อสฺสุ, อิตถิยํ อี. วิถิณฺณตฺตาวา อุพฺพี.
  12. อุมฺมิ : (ปุ. อิต.) คลื่น, ลูกคลื่น, ระลอก. อรฺ คมเน, มิ, อสฺสุ, รสฺส โม.
  13. อูมิ : (ปุ. อิต.) คลื่น, ระลอก. วิ. อูเหนฺติ เอเตนาติ อูมิ. อูหฺ วิตกฺเก, มิ, หฺโลโป. อรฺ คมเน วา, มิ, อสฺสุ, ทีโฆ (แปลง อ เป็น อุ แล้ว ทีฆะ), รฺโลโป. ส. อูรฺมฺมิ, อูรฺมิ.
  14. จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
  15. อพฺพุท : (นปุ.) อัพพุทะชื่อสังขยาจำนวนหนึ่งคือร้อยแสนพินทุเป็น ๑ อัพพุทะหรือโกฏิมีกำลัง ๘.อพฺพฺหึสาคติมฺหิ, โท, อสฺสุ(แปลงอเป็นอุ).ฉปฺปณฺญาสพินฺทุสหิตาเอกาเลขาอพฺพุทํ.
  16. อสฺสุก : นป. ดู อสฺสุ
  17. สุสุก : (ปุ.) ปลาฉลาม. สสุ หึสายํ, อุ. อสฺสุ, สตฺเถ โก.
  18. สุสุกา : (อิต.) ปลาฉลาม. สสุ หึสายํ, อุ. อสฺสุ, สตฺเถ โก.
  19. อสฺส : (ปุ.) ม้า, ม้าตัวผู้, อสฺภกฺขเณ, อสุวาเขปเน, โส.อถวา, นปุพฺโพ, สีสเย, อ.ลบอีแปลงน เป็นอซ้อนสฺ. ส. อศฺว.
  20. อสีส : ค. ไม่มีศีรษะ, ไม่มียอด
  21. อเสส : (วิ.) มิได้เหลือ, ไม่เหลือ, ไม่เหลือลง, ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น.วิ. น เสสํอวสิฏฺฐอเสสํ.
  22. อิสฺส : (ปุ.) อิสสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อิสฺ อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส. ไม่ลบ ที่สุดธาตุ. ถ้าตั้ง อีสฺ ก็รัสสะ อี เป็น อิ.
  23. อุสฺส : ค. สูงกว่า
  24. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  25. อุสุยฺยก อุสฺสู อุสูยก : (วิ.) ผู้ริษยา, ผู้ขึ้งเคียด, ผู้โกรธ, ผู้ชิงชัง.
  26. โอสฺส : ค. สูง, เลิศ, ประเสริฐกว่า
  27. กุรุงฺค : (ปุ.) กวาง, จามรี จามจุรี ชื่อเนื้อทรายมี ขนละเอียด หางพวงเป็นพู่. วิ. กุยํ รงฺคตีติ กุรุงฺโค. กุปุพฺโพ, รงฺค. คมเน, อ, อสฺสุ. เป็น กุรงฺค โดยไม่แปลง อ เป็น อุ บ้าง.
  28. กุรู กุรูร : (วิ.) แข็ง, แข็งกระด้าง, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, กักขละ, กักขฬะ, สาหัส. วิ. กนฺตตีติ กุรูรํ. กนฺตฺ เฉทเน, อูโร. กนฺตสฺส กุราเทโส, กิพฺพิสํ กโรตีติ กุรูโร. กรฺ หึสายํ, อูโร, อสฺสุ. กุรฺ อกฺโก- เส วา, อูโร. ศัพท์ต้นลง อู ปัจ.
  29. กุล : (นปุ.) หมู่แห่งชนผู้มีชาติอย่างเดียวกัน. กลฺ สํขฺยาเณ, อ, อสฺสุ.
  30. กุลิส : (ปุ. นปุ.) กุลิสะ ชื่ออาวุธพระอินทร์, ขวานฟ้า, แก้ววิเชียร. วิ. กุลิมฺหิ สกฺกสฺส หตฺเถ เสติ ติฏฺฐตีติ กุลิสํ. กุลิปุพฺโพ, สิ คติยํ, อ. กลียตีติ วา กุลิสํ. กลฺ สํวรเณ, อิโส, อสฺสุ.
  31. จุจุก : (นปุ.) หัวนม. จุ จวเน, อุโก, ทฺวิตฺตํ. จญฺจุ คติยํ วา, อุโก, ญฺโลโป, อสฺสุ. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น จูจุก โดยทีฆะต้นธาตุเมื่อ แปลงเป็นจุจุ แล้ว.
  32. จุนฺท : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, จุนทะ ชื่อคน. จทิ ทิตฺติยํ, อ, อสฺสุ.
  33. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  34. สุทฺท : (ปุ.) คนเพศต่ำช้า, สุททชน, ศูทร คนวรรณะที่ ๔ ในวรรณะ ๔. สทฺ สาตเน, โท, อสฺสุ. สุทติ สามิเกหิ ภตึ มคฺฆรตีติ สุทฺโท. สุท. ปคฺฆรเณ. ส. ศุทร.
  35. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  36. สุสุ : (วิ.) หนุ่ม, รุ่น. สสฺ ปาณเน, อุ. อสฺสุ. กัจฯและรูปฯ ๖๔๘ ตั้ง ตรุณ ศัพท์อาเทส เป็น สุสุ.
  37. อุชุ : (วิ.) ตรง, ซื่อ, ซื่อตรง, งาม, อรชร (งาม). วิ. อรติ อกุฏิลภาเวน ปวตฺตตีติ อุชุ. อรฺ คมเน, ชุ, อรสฺส อุ, อชฺ คมเน วา, อุ, อสฺสุ. อถวา, อุชุ อชฺชเว, อุ. ส. ฤชุ.
  38. อุม : (นปุ.) ป่า, เมือง, ท่าเรือ. อมฺ คติยํ, อ, อสฺสุ. อุปุพฺโพ วา, มกฺ ปาเน, กฺวิ, ลบ กฺ.
  39. อุมงฺค อุมฺมงฺค : (ปุ. นปุ.) ช่องเป็นที่ไปใน เบื้องต่ำ, ทางใต้ดิน, ท่อน้ำ, อุมงค์, อุโมงค์. อโธปุพฺโพ, มคิ คติยํ, อ, ธโลโป, อสฺสุ. ศัพท์หลังซ้อน มฺ.
  40. อุสุมา : (อิต.) แปลเหมือน อุสุม. อุสฺ ทาเห, โม, อสฺสุ.
  41. กกฺการี : (อิต.) ฟัก, แฟง, ฟักเหลือง, (ฟักทอง), ฟักทอง, แตงกวา, แตงโม, แตงใหญ่ (แตงร้าน) บวบขม, ตะกั่วขาว. กุกฺ อาทาเน, อโร, อุสฺส อตฺตํ.
  42. กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
  43. กฏุมฺพิก : (วิ.) มีทรัพย์ วิ. กฏุมฺพํ อสฺส อตฺถีติ กฏุมฺพิโก.
  44. กณฺฏกีผล : (ปุ.) ต้นไม้มีผลประกอบด้วย หนาม, ต้นไม้มีผลมีผิวคล้ายหนาม, ขนุน, ต้นขนุน. วิ. กณฺฏกยุตฺตํ ผลํ อสฺส อตถิติ กณฺฏกีผโล. อีอาคม.
  45. กตมาลี : (ปุ.) ราชพฤกษ์. ต้นคูน. วิ. กตา มาลา อสฺส ปุปฺเผหีติ กตมาโล. ศัพท์หลัง. อี อาคม.
  46. กติ : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ. วิ. กตํ อลฺลํ อสฺส อตฺถีติ กติ.
  47. กลาปี : (ปุ.) นกยูง วิ. กลาโป ปิญฺชํ อสฺส อตฺถี ติ กลาปี. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. กลาปินฺ.
  48. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  49. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  50. กิตว : (ปุ.) นักเลง, นักเลงสกา. วิ. ติกิจฺฉตีติ กิตโว. กิตฺ นิวาเส, อโว. อถวา, กิตวํ อสฺส อตฺถีติ กิตโว. ณ ปัจ. ส. กิตว.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-163

(0.0131 sec)